พระมหาสมชาย ฐานวุฑโฒ ขอเชิญสาธุชนร่วมให้ชีวิตสรรพสัตว์เป็นทาน ปลานับหมื่นชีวิต
ขอเชิญสาธุชนร่วมให้ชีวิตสรรพสัตว์เป็นทาน ปลานับหมื่นชีวิต (1,000 กิโล) ณ วัดปทุมทอง อำเภอสามโคก ปทุมธานี ในวันพฤหัสบดีที่ 31 ธันวาคม 2558 เวลา 15:00 น.
วัดภาวนาโกย่า จัดปฏิบัติธรรม ณ ร้านนวดแผนไทยนพรัตน์
วัดภาวนานาโกย่า ประเทศญี่ปุ่น ได้จัดปฏิบัติธรรมบ้านกัลยาณมิตร ณ ร้านนวดแผนไทยนพรัตน์
รวมภาพปล่อยปลา มาแล้ว !!! ให้ชีวิตสัตว์เป็นทานกับเว็บไซต์ DMC ภาพดีๆ ที่คุณต้องอนุโมทนา
ประมวลภาพปล่อยปลากับเว็บไซต์ DMC.tv เนื่องในวาระครบรอบ 11 ปีวันคล้ายวันละสังขารคุณยายอาจารย์มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง
สมาชิก DMC.tv เอาบุญปล่อยปลาเนื่องในวันเข้าพรรษามาฝาก
หลังจากรับพรจากพระเดชพระคุณหลวงพ่อแล้วพวกเราก็เดินทางจากหอฉันคุณยายฯ ร่วมกันปล่อยปลาสร้างกุศลใหญ่กันต่อ
จิต
คำว่า " จิต " ตามหลักคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า หมายถึง สภาพรู้ อาการรู้ลักษณะรู้แจ้งอารมณ์ เป็นใหญ่เป็นประธานในการรู้แจ้งอารมณ์ และคำว่า จิตนี้ยังมีชื่อที่ใช้แทนคำว่าจิตในบางแห่งอีกมาก เช่น ใจ มโน มานัส ปัณฑระ หทัย วิญญาณวิญญาณขันธ์ มนายตนะ เป็นต้น ในชีวิตประจำวันของเรา จะทราบได้ว่าผู้ที่ยังไม่ตายมีชีวิตอยู่ เป็นผู้มีจิตเกิดดับต่อเนื่องไปจนกว่าจะตาย ฉะนั้น จิตคือ สภาพรู้ทางตา ทางหู ทางจมูก ทางลิ้น ทางกาย ทางใจ
การควบคุมจิตด้วยปัญญา
ถ้าเรามีจิตไม่ถูกปรุงแต่ง ก็เรียกว่า เรามีจิตเป็นพุทธะขึ้นมา เป็นผู้รู้ขึ้นมาทันที รู้อะไรถูกต้องขึ้นมาแล้วก็เป็นตัวเองอย่างแท้จริง สภาพมันอยู่คงที่หน้าตาของมันดั้งเดิม ของมันปรากฏอยู่อย่างนั้น ไม่ถูกฉาบไปด้วยกิเลส เรียกว่า ไม่ถูกปรุงแต่ง สภาพจิตมันเป็นอย่างนั้น...
พิธีหล่อเทียนพระธรรมกาย ณ วัดภาวนาเกาลูน
เมื่อวันอาทิตย์ที่ 8 กรกฎาคม 2555 ได้มีพิธีตักบาตร พิธีถวายภัตตาหารเป็นสังฆทานพิธีหล่อเทียนพระธรรมกาย และพิธีปล่อยสัตว์-ปลา
เครื่องกั้นจิตปิดกั้นใจ
“จิต” ของมนุษย์นั้นเดิมทีมีความใสสว่าง สะอาดบริสุทธิ์ หรือที่เรียกว่า “จิตประภัสสร” แต่เพราะถูกอาคันตุกะกิเลส(กิเลสที่จรมา)
สร้างบารมีได้ตลอดรอดฝั่งต้องมีธาตุบริสุทธิ์
การจะอยู่สร้างบารมีกับหมู่คณะไปได้นาน ๆ ต้องมีธาตุบริสุทธิ์มาก หากมีธาตุบริสุทธิ์มาก ธาตุที่ไม่บริสุทธิ์ก็จะค่อย ๆ หมดไป ดังนั้นเราต้องไม่ประมาทในการดำเนินชีวิตโดยการหมั่นสั่งสมธาตุบริสุทธิ์เอาไว้มาก ๆ
พกชาดก-ชาดกว่าด้วยบาปกรรมของผู้ฉลาดแกมโกง
พระเชตะวันมหาวิหาร ณ เวลาในพุทธกาลสมัยหนึ่งยังมีพระภิกษุผู้มีศิลปะในการตัดเย็บ ย้อมสี ปะ ชุนจีวร ฝีมือดีจนเป็นที่ยอมรับในหมู่สงฆ์ ภิกษุรูปนี้ชาญฉลาดในการทำจีวรให้งาม ภิกษุสงฆ์ทั้งหลายพากันขนานนามตามความหมายนั้นว่า พระจีวรวัฒฑกะ