ด่วน! ข้อชี้แจ้งเรื่องโครงการพระไตรปิฎก
ชี้แจงกรณีมีผู้กล่าวอ้างว่า วัดพระธรรมกายจะทำการเปลี่ยนแปลงข้อความในพระไตรปิฎก เพื่อความเข้าใจที่ถูกต้องตรงตามความเป็นจริง
มงคลที่ ๑๙ งดเว้นจากบาป - อย่าล่วงละเมิดเกินขอบเขต
การล่วงละเมิดสิทธิส่วนบุคคล ที่ไม่ถูกทำนองคลองธรรม เป็นทางมาแห่งบาปอกุศล และเป็นความหมองใจ ที่ชักนำไปสู่อบายได้ การผิดศีลข้อที่ ๓ ในสังคมปัจจุบันนี้ ก็มีกันอยู่เนืองๆ เมื่อผิดพลาดล่วงเกินกันแล้ว ส่วนใหญ่มักไม่รู้ถึงโทษของการล่วงเกิน เหมือนดังพุทธพจน์ที่อุปมาไว้ว่า เหมือนปลาที่กำลังว่ายเข้าไปสู่เครื่องดัก ผลก็คือความตาย
กระแสแห่งกรรม (๒)
ภิกษุทั้งหลาย โลสกติสสะผู้นี้ ได้ประกอบกรรมคือ ความเป็นผู้มีลาภน้อย และความเป็นผู้ได้อริยธรรมของตนด้วยตนเอง เนื่องด้วยครั้งก่อนเธอกระทำอันตรายลาภของผู้อื่น จึงเป็นผู้มีลาภน้อย แต่เป็นผู้บรรลุอริยธรรมได้ด้วยผลที่บำเพ็ญวิปัสสนา คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา
ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร (๒)
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ทางสุดโต่งสองอย่างบรรพชิตไม่ควรเสพ คือ การทรมานตัวเองให้ลำบากและการประกอบพัวพันในกาม
บทความให้กำลังใจ ตอนที่ 51
บทความให้กำลังใจ ตอนที่ 51 บทความให้กำลังใจ คำคมกำลังใจ ข้อความให้กำลังใจคนที่คุณรักและปรารถนาดี บทความให้กำลังใจกลอนให้กำลังใจเป็นกำลังใจในการดำเนินชีวิต กลอนให้กำลังใจ มีทั้งรูปภาพและข้อความให้กำลังใจ ที่นี่
ถ้าฮวงซุ้ยดีจะทำให้ลูกหลานมีความเจริญจริงหรือ
คนจีนเชื่อกันว่าถ้าฮวงซุ้ยของบรรพบุรุษอยู่ในที่ๆ ดี จะทำให้ลูกหลานมีความเจริญก้าวหน้าร่ำรวย หากฮวงซุ้ยของบรรพบุรุษอยู่ในที่ที่ไม่ดีหรือไม่เป็นมงคล ลูกหลานจะประสบกับความหายนะ
ความสำคัญของอาคาร 100 ปีคุณยายอาจารย์
พระธรรมเทศนา โดย พระภาวนาวิริยคุณ (หลวงพ่อทัตตชีโว) รองเจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย
สัตติคุมพะชาดก ชาดกว่าด้วยเรื่องการคบหาคนพาล
สารัตถะแห่งพระพุทธศาสนาข้อสำคัญที่ประจักษ์แจ้งทั่วกันอย่างหนึ่งก็คือ อนิจจัง ความไม่เที่ยงไม่จีรังยั่งยืนของสรรพสิ่ง ในแผ่นดินมคธซึ่งสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงปักธงชัยประกาศศาสนาไว้ ก็ไม่พ้นจากความจริงจากข้อนี้ได้ เมื่อสิ้นอำนาจพระเจ้าพิมพิสาร พระเจ้าอชาตศัตรูผู้ทำปิตุฆาตขึ้นครองมคธตามคำยุยงของพระเทวทัต
อุปมาชีวิต 7 อย่าง ชีวิตนี้เปรียบเสมือนอะไรบ้าง ?
อุปมาชีวิต 7 อย่าง ชี้ให้เห็นว่าชีวิตมนุษย์สั้นเพียงใด และต้องทำความดี เพื่อเตรียมพร้อมสำหรับความตาย ที่เป็นสิ่งแน่นอนในชีวิต.
ธัมมัสสวนมัย จิตผ่องใสได้ฟังธรรม
“ภิกษุทั้งหลาย เวลาที่ทรงคุณค่าที่บุคคลให้เป็นไปโดยชอบแล้วย่อมทำให้ถึงความสิ้นอาสวะโดยลำดับ เวลาที่ทรงคุณค่า 4 อย่าง คือเวลาฟังธรรมตามกาล เวลาสนทนาธรรมตามกาล เวลาทำความสงบของใจและเวลาพิจารณาธรรมให้เกิดความรู้แจ้ง” (ทุติยกาลสูตร)