อนิจจังไม่เที่ยง
คำถาม : มีคุณโยมท่านหนึ่งถามมาว่าคนไทยชอบใช้คำว่าอนิจจังไม่เที่ยง เพื่อปลอบใจให้คลายทุกข์โศกพอสบายใจแล้วก็ปล่อยปะละเลยไม่กระตือรือร้น ควรจะแก้ไขอย่างไรดีคะ
ด่วน! ข้อชี้แจ้งเรื่องโครงการพระไตรปิฎก
ชี้แจงกรณีมีผู้กล่าวอ้างว่า วัดพระธรรมกายจะทำการเปลี่ยนแปลงข้อความในพระไตรปิฎก เพื่อความเข้าใจที่ถูกต้องตรงตามความเป็นจริง
เคล็ด (ไม่) ลับของความสำเร็จ
เคล็ด (ไม่) ลับที่ทำให้หนูได้รางวัลต่างๆ และสามารถทำสิ่งต่างๆ ได้เป็นอย่างดีนั้น หนูขอยืนยันว่า “เกิดจากการที่หนูมีสมาธิ” ค่ะ ไม่ว่าจะเป็นการตั้งใจฟังคุณครู ชอบซักถามผู้ใหญ่ ชอบศึกษาค้นคว้า ถ้าไม่มีสมาธิแล้ว ใจเราก็จะไปคิดเรื่องอื่นมากมาย ทำให้ยากที่จะเรียนได้อย่างเข้าใจ
ธรรมกายคือหลักของชีวิต
เมื่อใดบัณฑิตย่อมเห็นด้วยปัญญาว่า สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง เมื่อนั้นเขาย่อมหน่ายในทุกข์ นี้เป็นทางแห่งความหมดจด
สู้จนกว่าจะชนะ
บัณฑิตในกาลก่อน แม้ถือกำเนิดในสัตว์เดียรัจฉาน ได้กระทำความเพียรจนได้รับบาดเจ็บเห็นปานนี้ แต่ก็ไม่ละความเพียร ส่วนเธอออกบวชในศาสนานี้ ที่จะนำออกจากทุกข์ได้ เพราะเหตุไรเล่า จึงละความเพียรเสีย
ศาสดาเอกของโลก (2)
ชนเหล่าใดเลื่อมใสในพระพุทธเจ้า ชนเหล่านั้นชื่อว่า เลื่อมใสในสิ่งที่เลิศ ก็วิบากอันเลิศย่อมมีแก่บุคคลผู้ที่เลื่อมใสในสิ่งที่เลิศ...
The Noble Truth of the Path to the Cessation of Suffering # 6
The Three Signs of Existence [tilakkhana] that are exhibited by all material things are impermanence [aniccam], suffering [dukkham] and not –self [anatta]
The Four Noble Truths : 1. Explanation of the Noble Truth of Suffering
The Lord Buddha’s explanation of suffering includes all four of suffering’s implications in the light of the Four Noble Truths:
กระแสแห่งกรรม (๒)
ภิกษุทั้งหลาย โลสกติสสะผู้นี้ ได้ประกอบกรรมคือ ความเป็นผู้มีลาภน้อย และความเป็นผู้ได้อริยธรรมของตนด้วยตนเอง เนื่องด้วยครั้งก่อนเธอกระทำอันตรายลาภของผู้อื่น จึงเป็นผู้มีลาภน้อย แต่เป็นผู้บรรลุอริยธรรมได้ด้วยผลที่บำเพ็ญวิปัสสนา คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา
นักวิชาการเตือนฟ้าผ่า! ไม่ได้เกิดจากโลหะสื่อล่อฟ้า