พระพุทธคุณ ตอน ผู้ไกลจากกิเลส
พระผู้มีพระภาคเจ้า ผู้ทรงเป็นที่พึ่ง ไม่ทรงเกี่ยวข้องกับกิเลสใด และไม่ทรงประกอบด้วยโทษใด ชื่อว่าทรงไกลจากกิเลส และโทษนั้น เพราะเหตุนั้น จึงปรากฏพระนามว่า อรหํ
พระอรหันต์ของโลก
โลกนี้ โลกหน้า เรารู้อยู่ จึงประกาศไว้ดีแล้ว เราเป็นผู้ตรัสรู้เอง รู้ชัดโลกทั้งปวง ซึ่งแออัดด้วยมาร ทั้งที่เป็นโลกอันมัจจุไปไม่ถึง เรารู้ได้ด้วยปัญญาอันยิ่ง ได้เปิดประตูอมตะอันปลอดโปร่ง เพื่อบรรลุพระนิพพาน กระแสมารผู้ลามก เราตัดแล้ว กำจัดแล้ว ทำให้ปราศจากความฮึกเหิมแล้ว พวกเธอจงเป็นผู้มากไปด้วยปราโมทย์ ปรารถนาพระนิพพาน ซึ่งเป็นแดนเกษมเถิด
ชัยชนะครั้งที่ 6 (ตอนที่ 5 ชนะสัจจกนิครนถ์)
บุคคลเอก เมื่อเกิดขึ้นในโลก ย่อมเกิดขึ้นแบบไม่เป็นที่สองรองใคร ไม่มีใครเช่นกับพระองค์ ไม่มีใครเปรียบ ไม่มีส่วนเปรียบ ไม่มีใครเสมอด้วยพระพุทธเจ้า ผู้เป็นเลิศกว่าชนทั้งหลาย บุคคลเอกผู้นั้น คือ พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
ศาสดาเอกของโลก (๑)
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน ผู้บริสุทธิ์หลุดพ้นแล้วจากกิเลสอาสวะ กิจที่จะทำยิ่งกว่านี้ของพระองค์ไม่มีอีกแล้ว พวกเราควรดำเนิน
ศาสดาเอกของโลก (๒)
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นต้นแบบของยอดนักสร้างบารมี ที่สร้างบารมีในทุกเวลาทุกสถานที่ ไม่ว่าจะกี่ภพกี่ชาติพระพุทธองค์มุ่งสร้างบารมีโดยไม่มีข้อแม้
สว่างไสวไปทั่วหมื่นโลกธาตุ
พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า บัณฑิตกล่าวว่าเป็นเลิศกว่าสรรพสัตว์ทั้งหลาย ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ชนเหล่าใดเลื่อมใสในพระพุทธเจ้า ชนเหล่านั้นชื่อว่าเลื่อมใส ในบุคคลผู้เลิศ ก็ผลอันเลิศย่อมมีแก่บุคคลผู้เลื่อมใสในพระพุทธเจ้าผู้เลิศ
พุทธปาฏิหาริย์ ๓,๕๐๐ อย่าง
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สัตว์ทั้งหลายมีประมาณเท่าใด ไม่มีเท้าก็ดี ๒ เท้าก็ดี ๔ เท้าก็ดี มีเท้ามากก็ดี มีรูปก็ดี ไม่มีรูปก็ดี มีสัญญาก็ดี ไม่มีสัญญาก็ดี มีสัญญาก็ไม่ใช่ ไม่มีสัญญาก็ไม่ใช่ พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า บัณฑิตกล่าวว่าเป็นยอดของสัตว์เหล่านั้น
ศาสดาเอกของโลก (1)
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลผู้เลิศเมื่ออุบัติขึ้นในโลก ย่อมอุบัติขึ้นเพื่อประโยชน์แก่มหาชนเป็นอันมาก เพื่อความอนุเคราะห์แก่ชาวโลก เพื่อประโยชน์สุขแก่เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย...
ศาสดาเอกของโลก (2)
ชนเหล่าใดเลื่อมใสในพระพุทธเจ้า ชนเหล่านั้นชื่อว่า เลื่อมใสในสิ่งที่เลิศ ก็วิบากอันเลิศย่อมมีแก่บุคคลผู้ที่เลื่อมใสในสิ่งที่เลิศ...
ชัยชนะครั้งที่ ๖ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๕ ชนะสัจจกนิครนถ์)
การฝึกฝนใจให้หยุดนิ่ง เป็นสิ่งสำคัญสำหรับชีวิตของเราทุกคน เพราะชีวิตของผู้มีใจหยุดดีแล้ว เป็นชีวิตที่ประเสริฐ มีพลัง มีความบริสุทธิ์ มีอานุภาพที่จะทำความดี เอาชนะความชั่ว