ทาน-ทางมาแห่งทรัพย์สมบัติ ความหมายของทาน
ทาน หมายถึง การให้ด้วยความบริสุทธิ์ใจ ไม่หวังผลตอบแทน เมื่อเราให้ทาน แม้จะไม่ได้หวังสิ่งใดตอบแทนก็ตาม แต่ก็จะมีบุญเกิดขึ้น และบุญนั้นจะช่วยออกแบบชีวิตของเราให้สมบูรณ์พร้อมด้วยทรัพย์สมบัติ
การทำทานในพระพุทธศาสนา มีวัตถุประสงค์อย่างไร และทำได้กี่ประเภท - หลวงพ่อตอบปัญหา
การทำทานในพระพุทธศาสนา มีวัตถุประสงค์อย่างไร และทำได้กี่ประเภท, ทำไมพระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสว่า “ธรรมทานชนะการให้ทั้งปวง”, การถวายสังฆทาน จริงๆแล้วมีหลักอย่างไร และการถวายกับพระภิกษุรูปเดียว ถือเป็นสังฆทานหรือไม่ และการถวายสังฆทาน กับถวายแบบเจาะจง แบบไหนได้บุญมากกว่ากัน
บุญ เบื้องหลังความสุขและความสำเร็จ
มนุษย์ทุกคนเมื่อเกิดมาก็จำเรื่องในชาติก่อนไม่ได้ จึงไม่รู่ว่าเราเคยไปทำบาปอะไรไว้บ้าง จะรับผลบาปเป็นความทุกข์เมื่อไรก็ไม่รู้ แต่เราไม่ต้องกังวลไปเราะแม้อดีตที่ผิดพลาดแก้ไขไม่ได้ แต่ปัจจุบันเราสามารถสั่งสมบุญเพื่อให้บาปเจือลงได้ด้วยการทำงาน รักษาศีล และเจริญภาวนา
มงคลที่ ๑๕ บำเพ็ญทาน - อสทิสทาน
การให้ทานจะนำเราไปสู่ชีวิตที่สมบูรณ์ เป็นบันไดไปสู่สวรรค์นิพพาน การทำบุญด้วยเจตนาบริสุทธิ์ หวังบุญบารมีเป็นที่ตั้งนั้น จะได้รับอานิสงส์อย่างที่เราคาดไม่ถึง ยิ่งทำถูกเนื้อนาบุญ ผลบุญนั้นก็จะเป็น มหัคคตกุศล ไม่อาจที่จะนับคำนวนบุญที่เกิดขึ้นได้ ว่ามีประมาณเท่าใด การที่เรามีโอกาสทำบุญกับพระภิกษุสามเณร ๑๐๐,๐๐๐ รูป ในเวลาเดียวกันนี้ เป็นความอัศจรรย์ของโลก
V-Star สระบุรี ช่วงสอบก็ไม่หวั่น
แข่งบุญแข่งบารมี
มีภาษิตกล่าวว่า “แข่งเรือแข่งพาย พอแข่งได้ แต่แข่งบุญแข่งบารมี แข่งกันไม่ได้” เป็นความหมาย ให้อ่อนน้อมถ่อมตน มิให้ตีตนเสมอผู้หลักผู้ใหญ่
มุทิตาจิต กับ อนุโมทนา ต่างกันอย่างไร
บทความนี้อธิบายความแตกต่างระหว่างมุทิตาจิตและอนุโมทนา ทั้งในด้านความหมาย การแสดงออก และอานิสงส์ของการมุทิตาและอนุโมทนา การมีจิตยินดีในความดีของผู้อื่นเป็นคุณธรรมที่ควรส่งเสริมในสังคม
100 คำสอน สมเด็จพระสังฆราช
100 คำสอนของสมเด็จพระสังฆราช เป็นคำสอนที่ใช้ภาษาเรียบง่าย และงดงาม ชวนให้น้อมนำเข้ามาสู่จิตใจ 100 คำสอนที่รวบรวมมาแต่ละคำสอนเป็นข้อความสั้น ๆ ว่าด้วย ชีวิต, คน, คนดี, กรรม, ความสุข, ความดี, เมตตา และชัยชนะ
ชวนต่างชาติให้สนใจ ทาน ศีล ภาวนา
ตัวลูกเป็นชาวต่างชาติ เลื่อมใสในพระพุทธศาสนา อยากให้ญาติมิตรหันมาสนใจเรื่อง การรักษาศีล เจริญภาวนา จะต้องทำอย่างไรคะ ?
สังคหวัตถุ-4-หลักการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ
ท่านทั้งหลายทราบหรือไม่ว่า การที่เรามาอยู่ร่วมกันในสังคมนั้นต้องปฏิบัติตนอย่างไร จึงจะอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ท่านทรงได้ให้หลักธรรมในการดำเนินชีวิตในสังคมอย่างเป็นสุขคือ สังคหวัตถุ 4 ซึ่งประกอบด้วยหลักธรรม 4 ข้อ ได้แก่ ทาน ปิยวาจา อัตถจริยา และ สมานัตตา โดยมีรายละเอียดแต่ละข้อดังนี้