ทำเลที่ตั้ง ประเทศสิงคโปร์
ทำเลที่ตั้ง ประเทศสิงคโปร์ เป็นหมู่เกาะขนาดเล็ก ตั้งอยู่ระหว่างละติจูด 1 องศาเหนือ และลองจิจูดที่ 103 องศาตะวันออก ประกอบด้วยเกาะขนาดใหญ่เล็ก จำนวน 63 เกาะ โดยเกาะสิงคโปร์เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุด รองลงมาได้แก่ เกาะจูร่ง เกาะพูเลาเตกง เกาะพูเลาอูบิน และเกาะเซนโตซ่า
ท่องอินเดีย จาริกธรรม
เป็น อยู่ คือ...วิถีชาวสิงคโปร์ ตอนที่ 2
การแสดงดนตรี ผู้คนแต่ละเชื้อชาติที่อาศัยอยู่บนแผ่นดินสิงคโปร์มีเครื่องดนตรีประจำชาติเป็นของตน อาทิ วีนา (Veena) ของชาวอินเดีย กู่เจิงของชาวจีน แต่ดนตรีได้รับความนิยมอย่างสูงในประเทศสิงคโปร์และได้รับจากนานาประเทศ คือ การบรรเลงเพลงของวงออร์เคสตราจีนแห่งสิงคโปร์ (Singapore Chinese Orchestra.) ซึ่งเป็นวงที่รวมเครื่องดนตรีสากลไว้ด้วยกันนับ 30 ชนิด เช่น ขลุ่ยผิว พิณจีนโบราณชนิดต่างๆ ขิมจีน เป็นต้น
บรูไนดารุสซาลามหนึ่งในประชาคมอาเซียน
เราคืออาเซียน บรูไนดารุสซาลาม ประเทศบรูไน มีชื่อทางการว่า “เนการาบรูไนดารุสซาลาม”(Negara Brunei Darussalam) แปลว่า ดินแดนแห่งความสงบสุข เมืองหลวงคือ บันดาร์เสรีเบกาวัน (Bandar Seri Begawan) เมืองท่าสำคัญ ได้แก่ มูอาและเซรีอา
แจ้งข่าวบุญ "ทอดกฐิน 14 วัด 7 ประเทศ"
แจ้งข่าวบุญ "ทอดกฐิน 14 วัด 7 ประเทศ" ตั้งแต่วันที่ถึง 30 ตุลาคม พ.ศ. 2559
ทำเลที่ตั้ง ของประเทศลาว
ทำเลที่ตั้ง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวเป็นประเทศเพื่อนบ้านถึง 5 ประเทศ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นประเทศที่มีอิทธิพลมากกว่า ทำให้ในหลายๆ เหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ ลาวต้องตกอยู่ในสถานะเป็น รัฐกันชน
ทำมาค้าขายของประเทศมาเลเซีย
ประเทศมาเลเซีย ได้เปลี่ยนจากประเทศที่พึ่งพาการเหมืองแร่และการส่งออกสินค้าเกษตร เป็นประเทศที่มีรายได้หลักจากการผลิตสินค้าและบริการ โดยในปี พ.ศ. 2554 มาเลเซียได้รับจัดอันดับให้ประเทศที่มีขีดความสามารถในการแข่งขันสูงเป็นอันดับที่ 16 ของโลก
อุบาสกอุบาสิกาแก้วอินเดีย ความภาคภูมิแห่งแดนพุทธภูมิ
อุบาสกอุบาสิกาแก้วอินเดีย ความภาคภูมิแห่งแดนพุทธภูมิ โครงการอบรมอุบาสก-อุบาสิกาแก้ว ณ ประเทศอินเดีย 3 ครั้งที่ผ่านมา รวม 6 เมือง คือ มุมไบ, กัลยัน, นาค ปูร, มุนิจาเปอร์, บาลากัต และอามันนากะ ซึ่งอยู่ใน 2 รัฐ คือ รัฐมหาราษฏระและมัธยะประเทศ นับเป็นต้นบุญต้นแบบของการฟื้นฟูพระพุทธศาสนา ในแดนพุทธภูมิอย่างเต็มรูปแบบ
พิธีจุดโคมวิสาขประทีปเป็นพุทธบูชา ครั้งแรก ณ ดินแดนพุทธภูมิ
เพื่อฟื้นฟูพระพุทธศาสนาในประเทศอินเดียให้กลับมาเฟื่องฟูเหมือนในสมัยพุทธกาล
เป็น อยู่ คือ วิถีชีวิตชาวมาเลเซีย
สังคมมาเลเซียมีลักษณ์เป็น พหุสังคม (Multiracial Society) ประกอบด้วยประชากรหลากหลายเชื้อชาติ ได้แก่ มาเลย์ จีน และอินเดียแต่ละเชื้อชาติมีความแตกต่างทางภาษา ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิตความเป็นอยู่