เรียนจบสุดความรู้ของอาจารย์ - พุทธประวัติ
พุทธประวัติ พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า ประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพาน
อุทกดาบส อาฬารดาบส
เหล่าสัตว์ที่มีอำนาจแห่งบุญส่งเสริม ไปแล้วสู่กามภพ และรูปภพ หรือแม้ไปสู่ภวัคคพรหม ย่อมกลับสู่ทุคติอีกได้ เหล่าสัตว์มีอายุยืนถึงเพียงนั้น ก็ยังจุติเพราะสิ้นอายุ ภพไหนๆ ชื่อว่า เที่ยงไม่มี สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้แสวงหาคุณอันยิ่งใหญ่ได้ตรัสไว้อย่างนี้
ธัมมจักรกัปปวัตตนสูตร (๑)
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ตถาคตเป็นผู้มีวาจาเป็นหนึ่ง เราเป็นพระอรหันต์ ผู้ตรัสรู้เองโดยชอบ พวกเธอจงเงี่ยโสตสดับเถิด เราจะสั่งสอน จักแสดงธรรม พวกเธอปฏิบัติตามที่เราสั่งสอนแล้ว จะได้บรรลุธรรมอันยอดเยี่ยมตามเรา
สมาธิมีผลต่อความสุขความสำเร็จของมนุษย์ทุกคนได้จริงหรือ
ความสำเร็จของชีวิตเกิดขึ้นได้ด้วยศาสตร์แห่งสมาธิ เพราะสมาธิเป็นพื้นฐานสำคัญของการศึกษา เรียกได้ว่าเป็นศาสตร์แขนงหนึ่งที่ทรงคุณค่ายิ่งต่อความสุขความสำเร็จของมนุษย์ทุกๆ คน
อรูปพรหมภูมิ ที่อยู่ของพรหมที่ไม่ใช่รูปพรหม
การมาบังเกิดเป็นอรูปพรหมนั้น เมื่อครั้งเป็นมนุษย์จะต้องหมั่นสั่งสมบุญทั้งทาน ศีล ภาวนา โดยเฉพาะการเจริญภาวนา จะต้องทำจนถึงขั้นได้อรูปฌาน เป็นฌานที่สูงกว่ารูปฌานขึ้นไปอีก
มงคลที่ ๕ มีบุญวาสนามาก่อน - บุพกรรมนําพาชีวิต
เรื่องของ พระเถระรูปหนึ่ง มีนามว่า จุลปันถกเถระ เป็นพระอรหันต์องค์หนึ่งในสมัยพุทธกาล กว่าท่านจะมีวันนี้ได้ ไม่ใช่เรื่องง่ายเลย มีที่มาที่ไปโดยมีบุญและบาปอยู่ฉากหลัง (เพราะท่านเคยว่าผู้อื่นโง่)
อรูปภพ
คำว่าอรูปพรหม ไม่ได้หมายความว่า พรหมผู้ไม่มีรูปร่าง ท่านมีรูปกาย มีความสวยงามยิ่งกว่าพรหมในรูปภพเสียอีก ท่านสง่างามกว่า และประณีตกว่า เพราะท่านได้กายที่ใกล้เคียงลักษณะมหาบุรุษเข้าไปเรื่อยๆ ซึ่งเป็นกายที่สมบูรณ์แบบที่สุด ถ้าสูงขึ้นไปจากอรูปภพก็จะเป็นอายตนนิพพาน เหมือนคำว่าอมนุษย์ ไม่ได้หมายว่าไม่มีมนุษย์ เพียงแต่ว่าไม่ใช่มนุษย์เท่านั้นเอง อรูปพรหมก็ไม่ได้หมายความว่าไม่มีรูปพรหม แต่แปลว่า ไม่ใช่รูปพรหม
พระวนวัจฉะผู้อยู่ในป่า
ความเสวยอารมณ์เกิดขึ้นเพราะมโนสัมผัสเป็นปัจจัย เช่นเป็นสุขก็ดี เป็นทุกข์ก็ดี ไม่ใช่ทุกข์ไม่ใช่สุขก็ดี เมื่อเบื่อหน่ายในความเสวยอารมณ์นั้น ย่อมคลายความกำหนัด เมื่อคลายความกำหนัด จิตย่อมหลุดพ้น เมื่อจิตหลุดพ้นแล้ว ก็มีญาณรู้ว่าหลุดพ้นแล้ว พระอริยสาวกย่อมทราบชัดว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์ได้อยู่จบแล้ว กิจอื่นที่ควรทำ ได้ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นอีกเพื่อความเป็นอย่างนี้ มิได้มีอีกต่อไป
พระสุภูติเถระ
ท่านจงเจริญพุทธานุสติอันยอดเยี่ยมกว่าภาวนาทั้งหลาย ครั้นเจริญพุทธานุสตินี้แล้ว จักยังมนัสให้บริบูรณ์ จักรื่นรมย์ในเทวโลกตลอดสามหมื่นกัป จักได้เป็นจอมแห่งเทวดาเสวยเทวสมบัติถึง ๘๐ ครั้ง จักได้เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ อยู่ในแว่นแคว้น ๑,๐๐๐ ครั้ง จักได้เป็นพระเจ้าประเทศราชอันไพบูลย์ โดยคณานับมิได้ จักได้เสวยสมบัตินั้นทั้งหมด นี้เป็นผลแห่งการเจริญพุทธานุสติ
พรหมปุโรหิตาภูมิ
ดูก่อนเกวัฏฏะ อิทธิปาฏิหาริย์ คือ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ย่อมแสดงฤทธิ์ได้หลายอย่าง คือ คนเดียวเป็นหลายคนก็ได้ หลายคนเป็นคนเดียวก็ได้ ทำให้ปรากฏก็ได้ ทำให้หายไปก็ได้ ทะลุฝากำแพงภูเขาไปไม่ติดขัดเหมือนไปในที่ว่างก็ได้ ผุดขึ้นดำลงในแผ่นดินเหมือนในน้ำก็ได้ เดินบนน้ำไม่แยกเหมือนเดินบนแผ่นดินก็ได้ นั่งบัลลังก์เหาะไปในอากาศเหมือนนกก็ได้ ลูบคลำพระจันทร์พระอาทิตย์ซึ่งมีฤทธิ์มีอานุภาพมากก็ได้ ใช้อำนาจกาย ไปตลอดพรหมโลกก็ได้