ตาย อารมณ์ที่ปรากฏก่อนตาย
สรรพสัตว์ย่อมตายไปเพราะเหตุแห่งความตาย 4 ประการ เมื่อเวลาใกล้จะตายนั้น อารมณ์ 3 อย่าง อย่างใดอย่างหนึ่ง ย่อมปรากฏแก่สัตว์ทางทวาร 6 ใน ทวารใดทวารหนึ่ง ได้โดยอำนาจของกรรม
มงคลที่ ๓๑ บำเพ็ญตบะ - ตบะธรรมชนะกิเลส
ท้าวสักกะทรงดำริว่า “ดาบสนี้มีอานุภาพมากจะทำให้เราเคลื่อนจากความเป็นท้าวสักกะ เราจะต้องร่วมมือกับพระเจ้าพาราณสี ทำลายตบะของดาบสนั้นให้ได้” ครั้นเวลาเที่ยงคืน จึงเสด็จไปยังห้องบรรทมของพระเจ้าพาราณสี แสดงอานุภาพของท้าวสักกะ พลางตรัสกับพระราชาว่า
กามคุณ
กามคุณ หมายถึง สิ่งที่น่าปรารถนา ชวนให้รักชักให้ใคร่ พาใจให้กำหนัดยินดี มี 5 ชนิด คือ รูป (สิ่งที่ตามองเห็น) เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ (สิ่งที่กายสัมผัส) กามคุณ 5 นี้เป็นอารมณ์ คือสิ่งที่ยึดดึงใจให้ปรารถนา ให้รักใคร่ เป็นต้น จึงเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า "กามารมณ์" แปลว่า อารมณ์คือกามคุณ ไม่ได้หมายถึงอารมณ์ทางเพศเพียงอย่างเดียว
คณะสงฆ์จังหวัดปทุมธานี ร่วมกับวัดพระธรรมกาย ส่งมอบเตียงแก่โรงพยาบาลสนามร่วมใจรักษ์
คณะสงฆ์จังหวัดปทุมธานี ร่วมกับวัดพระธรรมกาย มูลนิธิธรรมกาย และภาคีเครือข่ายฯ ส่งมอบเตียง จำนวน 20 เตียง และถุงยังชีพ จำนวน 200 ถุง แก่โรงพยาบาลสนามร่วมใจรักษ์ ช่วยเหลือผู้ป่วยติดเชื้อโควิด-19
วัดพระธรรมกาย มอบเตียงให้กับโรงพยาบาลสนามอาชีวะรักษ์ปทุม
วัดพระธรรมกาย และมูลนิธิธรรมกาย และคณะศิษยานุศิษย์ฯ ได้มอบเตียง 300 เตียง และมอบสมทบอุปกรณ์จัดทำเตียงรองรับผู้ป่วยโควิด-19 จำนวน 150 ชุด ให้กับโรงพยาบาลสนามอาชีวะรักษ์ปทุม จ.ปทุมธานี
รู้จักกายที่แท้จริงของตัวเอง
สัตว์อันราคะย้อมแล้ว ถูกกองอวิชชาหุ้มห่อแล้ว จักไม่เห็นธรรมอันละเอียด ลึกซึ้ง ยากที่จะเห็น ละเอียดยิ่ง อันจะยังสัตว์ให้ถึงธรรมที่ทวนกระแส คือ นิพพาน
ความวิเศษสุดของพระพุทธศาสนา
ภิกษุผู้ตั้งอยู่ในศีล สำรวมในอินทรีย์ทั้งหลาย รู้จักประมาณในโภชนะ หมั่นประกอบความเพียร ภิกษุผู้มีปกติพากเพียรอยู่อย่างนี้ ไม่เห็นแก่นอน ไม่เกียจคร้านทั้งกลางวันและกลางคืน เจริญกุศลธรรมเพื่อบรรลุคุณอันเกษมจากโยคะ ผู้ยินดีในความไม่ประมาท มีปกติเห็นภัยในความประมาท เป็นผู้ไม่ควรเพื่อความเสื่อม ย่อมเป็นผู้ปฏิบัติใกล้พระนิพพานทีเดียว
พระนันทกเถระ (๑)
ความเคลือบแคลงสงสัยของหมู่ชน ย่อมไม่มีในวันอุโบสถขึ้น ๑๕ ค่ำ ว่าพระจันทร์จะพร่องหรือเต็มก็ตาม แต่พระจันทร์ก็คงเต็มดวง ฉันใด ภิกษุณีเหล่านั้น มีความชื่นชมยินดีต่อการแสดงธรรมของพระนันทกะ และมีความดำริบริบูรณ์แล้ว ก็ฉันนั้น
การปฏิบัติเพื่อฝึกใจตามเส้นทางสายกลาง
ในธัมมจักกัปปวัตนสูตรอันเป็นพระสูตรที่กล่าวถึงปฐมเทศนาของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงกล่าวถึง มัชฌิมาปฏิปทา หรือ ทางสายกลาง ซึ่งเป็นหนทางหรือข้อปฏิบัติที่ไม่ตึงเกินไปจนเป็นความลำบากแก่ตน (อัตตกิลมถานุโยค) ไม่หย่อนเกินไปจนเป็นการพอกพูนกามกิเลส(กามสุขัลลิกานุโยค) ...
สธ.เตือนผู้ปกครองช่วงปิดเทอมฤดูร้อน ระวังเด็กจมน้ำตาย
ในปี พ.ศ.2552 มีเด็กจมน้ำเสียชีวิตเฉลี่ยเกือบ 500ราย