วันภาษาไทยแห่งชาติ 2567 ประวัติ ความสำคัญของวันภาษาไทยแห่งชาติ
วันภาษาไทยแห่งชาติ วันที่ 29 กรกฎาคมของทุกปี คือ วันที่รำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ในด้านภาษาไทย
กาฬเทวิลดาบส
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สัตตาวาสภูมิ และภวัคคพรหมมีประมาณเพียงไร พระอรหันต์ทั้งหลายเป็นผู้เลิศ เป็นผู้ประเสริฐสุดในโลก ยิ่งกว่าสัตตาวาสและภวัคคพรหมเหล่านั้น
พระบัณฑิต DOU รุ่นแรกของโลก (8)
มีญาติโยมถามกระผมว่า เรียน DOU ยากไหม กระผมขอตอบได้เลยครับว่า ไม่ยาก เพราะกระผมเป็นเจ้าอาวาสมีภารกิจต้องดูแลบริหารวัด ต้องเทศน์สอน พร้อมๆกับทำกิจวัตร กิจกรรมของพระไปด้วย แต่กระผมก็เรียน DOU ได้จนจบ เพราะการเรียน DOU ไม่ได้เป็นภาระ แต่เป็นสิ่งที่ช่วยให้กระผมทำหน้าที่ของความเป็นพระได้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น DOU ทำให้กระผมได้ทบทวนความรู้ที่เคยศึกษามาแล้ว
พิธีตอกเสาเข็มวัดพระธรรมกายสิงคโปร์ : ตอกเสาเข็มตอกย้ำคำว่า “ปลื้ม” คำเดียวไม่จบ
วันที่ใครๆก็รอคอย แม้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเขตปองโกล ดร. จานิล ปุถุเจรี ท่านกล่าวว่า “ขอบคุณที่เชิญผมมาร่วมงานนี้ วันนี้นับเป็นจุดเริ่มต้นที่ดีที่จะมีวัดใหม่ในเขตปองโกล ซึ่งจะเปิดโอกาสให้กับชาวเมือง ได้มาสักการะ ได้พบกับความสงบ และ เครื่องนำทางของชีวิต ผมขอแสดงความยินดี และพร้อมที่จะสนับสนุนงานของวัดต่อไปในอนาคต”
มุทิตาจิต กับ อนุโมทนา ต่างกันอย่างไร
บทความนี้อธิบายความแตกต่างระหว่างมุทิตาจิตและอนุโมทนา ทั้งในด้านความหมาย การแสดงออก และอานิสงส์ของการมุทิตาและอนุโมทนา การมีจิตยินดีในความดีของผู้อื่นเป็นคุณธรรมที่ควรส่งเสริมในสังคม
ทีวี 6 ช่อง ขานรับพร้อมปรับปรุงการจัดระดับสื่อทีวี
มงคลที่ ๓๔ ทำพระนิพพานให้แจ้ง - จุดมุ่งหมายสูงสุดของชีวิต
ด้วยจิตที่จะอนุเคราะห์พระราชา พระปัจเจกพุทธเจ้าจึงถวายพระพรว่า "ธรรมดานักโทษย่อมไม่ยินดีในเรือนจำ มีแต่ดิ้นรนแสวงหาหนทางออกจากเรือนจำนั้นอย่างเดียว ขอพระองค์จงเป็นเช่นนั้นเถิด จงเห็นภพทั้งหมดเหมือนเรือนจำเถิด โลกนี้ถูกความมืด คือ อวิชชา ห่อหุ้มไว้ ตราบใดที่สัตวโลกยังไม่ได้รับแสงสว่างจากพระสัทธรรม เปรียบเสมือนตกอยู่ในคุกมืด..."
มงคลที่ ๓๑ บำเพ็ญตบะ - ตบะธรรมชนะกิเลส
ท้าวสักกะทรงดำริว่า “ดาบสนี้มีอานุภาพมากจะทำให้เราเคลื่อนจากความเป็นท้าวสักกะ เราจะต้องร่วมมือกับพระเจ้าพาราณสี ทำลายตบะของดาบสนั้นให้ได้” ครั้นเวลาเที่ยงคืน จึงเสด็จไปยังห้องบรรทมของพระเจ้าพาราณสี แสดงอานุภาพของท้าวสักกะ พลางตรัสกับพระราชาว่า
สำรวมจิตเพื่อชีวิตที่สมบูรณ์
ผู้มีปัญญา พึงรักษาจิตที่เห็นได้ยาก ที่ละเอียดอ่อน มักตกไปในอารมณ์ที่น่าใคร่ เพราะว่าจิตที่คุ้มครองดีแล้ว นำสุขมาให้
ชาวลำปางตื่น! ภาพเปรตโผล่กลางหมู่บ้าน