ชัยชนะครั้งที่ 1 (ตอนที่ 1 ชนะพญามาร)
พระจอมมุนีได้ชัยชนะพญามาร ผู้เนรมิตแขนตั้งพัน มีอาวุธครบมือ ขี่คชสารครีเมขล์พร้อมด้วยเสนามาร มาโห่ร้องกึกก้อง ด้วยธรรมวิธีมีทานบารมีเป็นต้น ด้วยเดชแห่งพุทธชัยมงคลนั้น ขอสรรพมงคลทั้งหลาย จงมีแก่ท่าน...
น้องๆได้เรียนรู้หลักธรรม และวัฒนธรรมชาวพุทธ รักษาศีลแปด สวดมนต์ทำวัตรเช้า-เย็น และฝึกสมาธิ นอกจากนี้ยังได้รับฟังธรรมะจากพระอาจารย์ และเรื่องที่บีบน้ำตาน้องๆมากที่สุดคือ “เรื่องพระคุณของพ่อแม่” ในช่วงนั้นเป็นบรรยากาศที่เหนือคำบรรยายค่ะ น้องๆซาบซึ้งกันมากจนร้องไห้ วันรุ่งเช้าตาบวมไปตามๆกันเลยค่ะ
สักครั้ง 'มากประโยชน์' 'อุปสมบท' 'บวช' มีดีมากกว่าบุญ
ในช่วงก่อนเข้าพรรษา ช่วงนี้ในประเทศไทยที่ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ หลาย ๆ ครอบครัวก็จะมีการจัดพิธี "อุปสมบท" หรือ "บวช" บุตรหลานที่เป็นผู้ชาย ที่อายุครบบวชแล้ว เป็น "พระภิกษุ" ซึ่งการบวชหรืออุปสมบทนั้นเป็น "สังฆกรรม" อย่างหนึ่งในพระพุทธศาสนา
เป็น อยู่ คือ...วิถีชาวอินโด ตอนที่ 2
การละเล่น การละเล่นที่มีมาแต่เก่าก่อนของชาวอินโดนีเซียมีหลายอย่าง ที่น่าสนใจคือ วายังกูลิต (Wayang Kulit) หรือที่นิยมเรียกกันว่า วายังเป็นการแสดงหุ่นเชิดฉายเงาบนจอคล้ายหนังตระลุง มีเครื่องดนตรีประกอบ 4 ชิ้น เค้าโครงเรื่องส่วนใหญ่มักเกี่ยวกับสงครามในศาสนาฮินดูที่เล่าสืบต่อกันมาของชาวชวาและชาวบาหลี ใช้หุ่นกว่า 60 ตัว ผู้พากย์จะต้องมีความชำนาญในการใช้ภาษากาวี ซึ่งเป็นภาษาโบราณที่ตัวละครฝ่ายดีพูด และภาษาบาหลีสำหรับตัวละครฝ่ายร้ายพูด
มูลกรรมฐานเรื่อง “โลมา”
ตามหลักพระพุทธศาสนา โลมา หรือ เส้นขน ถูกเรียกว่าเป็นสิ่งปฏิกูลหรือเป็นของไม่สวยไม่งาม ขนที่อยู่บนร่างกายของเรานั้นมีทั้งคุณและโทษ
เป็น อยู่ คือ...วิถีชาวฟิลิปิโน ตอนที่ 2
เทศกาล เทศกาลอาติอาตีอัง (Ati – Atihan) จัดขึ้นในสัปดาห์ที่ 3 ของเดือนมกราคม ที่เมืองกาลีโบ (Kalibo) บนเกาะปาไนย์ (Panay) เป็นงานเทศกาลใหญ่ที่มีชื่อเสียงในเรื่องความสนุกสนาน มีการแต่งกายเลียนแบบชาวอาติ (Ati) ซึ่งเป็นชนพื้นเมืองดั้งเดิมของฟิลิปปินส์ ในวันงานจะมีการจักขบวนแฟนซีและแสดงดนตรีเพื่อเป็นการเฉลิมฉลองเป็นเวลา 3 วัน 3 คืน
สมาชิกมูลนิธิ Rotary Maas en waal เยี่ยมชมวัดพระธรรมกายเนเธอร์แลนด์
สมาชิกมูลนิธิ Rotary Maas en waal ได้มาเยี่ยมชมวัดพระธรรมกายเนเธอร์แลนด์ พร้อมทั้งเรียนรู้การฝึกสมาธิ
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 122
เมื่อมโหสถบัณฑิตทราบอุบายนั้นแล้ว ก็รำพึงว่า “เห็น ทีว่าพระเจ้าจุลนีคงจะไม่รู้จักเรา เอาเถอะเราจะแสดงให้ท้าวเธอได้ประจักษ์ว่ามิถิลานครเป็นเมืองอู่ข้าวอู่น้ำ ต่อให้ถูกล้อมสักกี่ปีก็ไม่มีวันอดตาย”
เป็น อยู่ คือ วิถีชีวิตชาวมาเลเซีย
สังคมมาเลเซียมีลักษณ์เป็น พหุสังคม (Multiracial Society) ประกอบด้วยประชากรหลากหลายเชื้อชาติ ได้แก่ มาเลย์ จีน และอินเดียแต่ละเชื้อชาติมีความแตกต่างทางภาษา ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิตความเป็นอยู่
ชี้ศาสนาพุทธเป็นสื่อรวมชนชาติ ช่วยดับร้อนในโลกด้วยสติปัญญา