หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๐)
การไปร่วมสัมมนาครั้งนี้ สืบเนื่องมาจากการที่สถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัยได้ร่วมลงนามทำสัญญาความร่วมมือ (MOU) กับทางวิทยาลัยสงฆ์นครน่านฯ เฉลิมพระเกียรติฯ ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๗ และจากการลงนาม MOU นี้ ทำให้เรามีกิจกรรมร่วมกันหลาย โครงการแต่เน่อื งจากผู้เขียนยังนำเสนอบทความเส้นทางเผยแผ่พระพุทธศาสนาไม่สิ้นสุด จึงจะขอนำเสนอผลงานที่เกิดขึ้นจากความร่วมมือของทั้ง ๒ ฝ่ายในอนาคต ในโอกาสนี้ขอเสนอบทความต่อจากฉบับที่แล้ว ดังนี้
ปักหมุดจุดหมาย ประเทศพม่า
ปักหมุดจุดหมาย ชาวพม่านับเป็นชนชาติที่มีศรัทธาในพระพุทธศาสนาแรงกล้าชาติหนึ่งของโลก เป็นผลให้มีศาสนสถานอันเป็นที่เคารพสักการะของทั้งชาวพม่าแชะชาวพุทธจากชาติอื่นตั้งอยู่ทั่วทั้งประเทศ นอกจากนั้นดินแดงพม่ายังมีประวัติศาสตร์ยาวนานและมีทรัพยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณ์ แหล่งท่องเที่ยวสำคัญซึ่งมีอยู่มากมายจึงหนีไม่พ้นสถานที่สำคัญทางศาสนา แหล่งโบราณคดี และสถานที่ท่องเที่ยวทางธรรมชาติ
รูปภาพสำหรับ Mes Aynak
ภาพโบราณวัตถุที่สำคัญในโบราณสถานแห่งดินแดนอัฟกานิสถาน Mes Aynak
ขุดพบขุมทรัพย์บามิยันในพระพุทธรูป
วิจัย"ดีเอ็นเอ"โบราณ สืบค้นบรรพบุรุษ
ค้าน-หนุนไอเดียแปลบทสวดมนต์เป็นเพลง หวังดึงเยาวชนหันมาสนใจพระพุทธศาสนา
ศึกษาหลักฐานพุทธศิลป์...ย้อนแดนดินถิ่นอารยธรรม
ณ ริมฝั่งแม่น้ำภีมะ ห่างจากหมู่บ้าน Sannati ไปทางทิศตะวันออกประมาณ ๓ กิโลเมตร ในเขตรัฐกรณาฏกะ ทางตอนใต้ของประเทศอินเดีย องค์การสำรวจโบราณคดีอินเดีย หรือ ASI (Archaeological Survey of India) ได้ขุดค้นพบแหล่งโบราณคดีกนคนหลฺลิ (Kanaganahalli) ที่เชื่อว่าเป็นศูนย์กลางพระพุทธศาสนาสมัยราชวงศ์ศาตวาหนะ....
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๑)
ในการนำเสนอสาระโดยย่อของประวัติศาสตร์ที่ยาวนานถึง ๒,๖๐๐ ปี อย่างต่อเนื่องหลายฉบับจนถึงยุคปัจจุบัน ผู้เขียนขออนุโมทนากับท่านผู้อ่านที่ให้ความสนใจติดตามมาโดยตลอด และฉบับนี้ผู้เขียนก็ขอเสนอบทความต่อจากฉบับที่แล้ว
สัมมนาประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาในมุมมองทางโบราณคดี
สถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัย และองค์กรเครือข่าย จัดสัมมนาประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาในมุมมองทางโบราณคดี และผลวิจัยล่าสุดเกี่ยวกับการปฏิบัติสมาธิวิชชาธรรมกายและแบบโบราณ
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๔)
ผู้เขียนและคณะนักวิจัยของสถาบันดีรี (DIRI) ได้นำเสนอเส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนามาอย่างต่อเนื่องประจำทุก ๆ เดือนผ่านมาได้ ๓ ฉบับแล้ว แต่การเผยแผ่พระพุทธศาสนายังมีเรื่องราวอีกมาก ในฉบับนี้ผู้เขียนจึงขอนำเสนอ ประวัติของเส้นทางเผยแผ่พระพุทธศาสนา ต่อเนื่องจากฉบับที่แล้ว