กรณีศึกษา คุณโมนิค มูนอฟ ตอนที่ 3
ในหลายภพหลายชาติก่อนๆ นู้น คุณโมนิคได้เกิดเป็น “กุลธิดาแสนสวย” อยู่ในตระกูลของพ่อค้าอัญมณี ที่อาศัยอยู่ในหมู่บ้านแห่งหนึ่ง
กรณีศึกษา คุณโมนิค มูนอฟ ตอนที่ 4
หลังจากที่ภรรยาหลวงของสามีของเธอ รับประทานอาหารที่ถูกเหยาะยาพิษลงไป ไม่นานภรรยาหลวงก็เกิดอาการปวดหัวตัวร้อนปวดท้องแบบปัจจุบันทันด่วนขึ้นมาทันที
กรณีศึกษา คุณโมนิค มูนอฟ ตอนจบ
คำถามข้อที่ 6. ทำไมคุณไอวี่ถึงได้มีความศรัทธาเลื่อมใส และมีความเข้าใจในมโนปณิธานการสร้างบารมีของพระเถระและหมู่คณะเป็นอย่างมากครับ
กรณีศึกษา คุณโมนิค มูนอฟ ตอนที่ 1
ก่อนที่คุณโมนิคจะเสียชีวิต ร่างกายของเธอมีอาการเหนื่อยล้าและอ่อนเพลียเป็นอย่างมาก เนื่องจากตัวเธอเองมีสุขภาพไม่ค่อยดีและไม่ค่อยแข็งแรงอยู่แล้ว
กรณีศึกษา คุณโมนิค มูนอฟ ตอนที่ 2
ขณะที่กายละเอียดของคุณโมนิค กำลังเพลิดเพลินกับการนั่งสมาธิ ทบทวนบุญอยู่ที่หน้ามหาธรรมกายเจดีย์ ด้วยผลแห่งบุญทุกๆ บุญ มีปริมาณมากพอที่จะส่งผลอย่างเต็มที่
กรณีศึกษา คุณโมนิค มูนอฟ ตอนที่ 10
เมื่อคุณไอวี่ในภพชาตินั้น ได้มาทำหน้าที่เป็นบอร์ดี้การ์ดให้กับตัวลูกหรือคุณโฮเวิร์ดในภพชาตินั้นแล้ว คุณไอวี่ก็รู้สึกประทับใจในอัธยาศัยของคุณโฮเวิร์ดในภพชาตินั้นเป็นอย่างมาก
อึ้ง!แค่กินก๋วยเตี๋ยว"ราดหน้า" แต่กลับต้องเสี่ยงโรคมะเร็งตับ-ผิวหนัง
Peace for Africa
กระผมรู้สึกซาบซึ้งเป็นอันมาก ที่พระภิกษุจากประเทศไทย ได้เดินทางมาสอนสมาธิที่นี่ ซึ่งพระภิกษุได้บอกว่า อาจารย์ของท่านเป็นเจ้าอาวาสอยู่ที่วัดพระธรรมกาย ประเทศไทย โดยสั่งให้มาสอนสมาธิ เพื่อสร้างสันติภาพในแอฟริกา ช่างเป็นแผนงานที่สูงส่ง และยิ่งใหญ่มาก ท่านเจ้าอาวาส ยังได้ริเริ่มโครงการ “Peace for Africa” ซึ่งเราจะได้มีการจุดประทีปสันติภาพ ในเดือนตุลาคม ที่จะถึงนี้ ในโจฮันเนสเบิร์ก
ดาวเคราะห์ดวงเท่าบ้าน เฉียดผ่านโลก ห่างแค่ 7,600 ไมล์
สำนักข่าวต่างประเทศรายงานว่า ดาวเคราะห์ 2011 เอ็มดี (2011 MD) ขนาดใหญ่เท่าบ้าน เคลื่อนตัวพุ่งเฉียดโลกเมื่อวานนี้ (28 มิ.ย.) โดยมีระยะห่างจากโลกแค่ราว 7,600 ไมล์ ซึ่งถือว่าเป็นดาวเคราะห์ที่พุ่งเฉียดเข้าใกล้โลกที่สุด
การนั่งสมาธิกับการพัฒนาของสมอง ตอนจบ
งานวิจัยวิทยาศาสตร์ทางสมองแสดงให้เห็นว่า โดยการทำภาวนา การฝึกสมาธิ การเจริญสติ ช่วยพัฒนาสมองของเราได้ ซึ่งในเรื่องนี้ ดร.ริค แฮนซัน (Rick Hanson,Ph.D) นักวิทยาศาสตร์ด้านประสาทจิตวิทยา (Neuropsychologist) ได้เขียนไว้ในหนังสือ สมองพุทธะ (Buddha’s Brain) อันโด่งดัง