พระอ่านหนังสือพิมพ์-หลวงพ่อตอบปัญหา
หนังสือพิมพ์ที่มีข่าวสารบ้านเมืองที่ควรรู้ จำเป็นต้องรู้สำหรับเป็นข้อมูลไปเทศน์สอนชาวบ้าน ก็อ่านเถอะ ไม่ได้ผิด แต่ว่าในช่วงที่กำลังเข้าธุดงค์ ต้องการความสงบใจอย่างมาก ก็ไม่ควรอ่านอย่างยิ่ง
บุพกรรมใดที่ทำให้มีพ่อติดสุราและยากจน
บุพกรรมใดทำให้คุณแม่และลูกๆ มีคุณพ่อที่ติดสุรา และมีฐานะยากจน เราเคยเกี่ยวพันกันมาอย่างไรในอดีตชาติ จึงมาเกิดร่วมกันคะ
อภิชาตบุตรของพ่อแม่
เป็นธรรมดาของชายหนุ่มหญิงสาวเมื่อได้ครองรักปักฐานกลายเป็นสามีภรรยา กันแล้ว ย่อมปรารถนาที่จะมีบุตรน้อยไว้เป็นสมาชิกของครอบครัว
การนั่งสมาธิแม้ว่าไม่สามารถทำใจให้นิ่งได้จะมีอานิสงส์บ้างไหม
ตอนนั่งสมาธิ แม้กำหนดนิมิตไม่ได้ แต่รักษาศีลได้ครบก็ได้บุญ ถ้ากำหนดนิมิตได้ ทำใจให้นิ่งได้ก็จะได้บุญมากขึ้น แต่ถึงจะกำหนดไม่ได้ ก็ได้บุญไปตามส่วน ที่ไม่ได้เลยเป็นไม่มี
มงคลที่ ๕ มีบุญวาสนามาก่อน - บุญคือฉากหลังของทุกชีวิต
เรื่องราวของพระอุบาลีเถระ เป็นพระเถระผู้มีชื่อเสียงมากในสมัยพุทธกาล ตัวของท่านได้รับแต่งตั้งจากพระบรมศาสดาให้เป็นผู้ที่เลิศกว่าภิกษุทั้งหลายในด้านทรงจำพระวินัย มาติดตามกันเลยว่าท่านได้กระทำเหตุไว้อย่างไรจึงได้เป็นผู้ที่เลิศกว่าภิกษุทั้งหลายในด้านทรงจำพระวินัย
กระต่ายน้อยในดวงจันทร์
“การสร้างบารมี” เป็นงานที่แท้จริงของมวลมนุษยชาติ เราเกิดมาเพื่อสร้างบารมี ดำเนินตามรอยบาทพระบรมศาสดา มุ่งแสวงหาสาระอันแท้จริงของชีวิต
Today I have some questions about the meaning of a Buddhist word. The word “Sila” (precepts) has many facets: the 5 precepts, the 8 precepts, the 10 precepts, and the 227 precepts. How important are the precepts? Why do we need to keep the precepts?
Today I have some questions about the meaning of a Buddhist word. The word “Sila” (precepts) has many facets: the 5 precepts, the 8 precepts, the 10 precepts, and the 227 precepts. I would truly like to know what the word “Sila” (precept) means. How important are the precepts? Why do we need to keep the precepts?
รักแท้หาได้จากที่ไหน
กรรมใดเป็นเหตุให้แฝดผู้น้องต้องเลิกกับสามี เธอจะมีคู่แท้ได้บ้างไหมครับ
ผู้ควรประดับดอกไม้ทิพย์
ผู้มีปัญญา เมื่อปรารถนาความสุข ๓ ประการ คือ คำสรรเสริญ ๑ การได้ทรัพย์เครื่องปลื้มใจ ๑ ละโลกแล้วได้บันเทิงในสวรรค์ ๑ พึงรักษาศีล
บริหารเวลาด้วยกาลัญญู
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงเล็งเห็นคุณค่าของเวลาชีวิต และทรงให้แนวทางแก่พระภิกษุในพระพุทธศาสนาในการบริหารเวลา ดังนี้....