มหาโควินทสูตร (ตอนที่ 1 เทวสันนิบาต)
ความพร้อมเพรียงของหมู่เป็นเหตุแห่งสุข และการสนับสนุนผู้พร้อมเพรียงกัน ก็เป็นเหตุแห่งสุข ภิกษุผู้ยินดีในความพร้อมเพรียงกัน ตั้งอยู่ในธรรม ย่อมไม่เสื่อมจากธรรมอันเกษมจากโยคะ ภิกษุสมานสงฆ์ให้พร้อมเพรียงกันแล้ว ย่อมบันเทิงในสรวงสวรรค์ตลอดกัป
อานิสงส์อนุโมทนาบุญ
ข้าแต่พระคุณเจ้าผู้เจริญ มหาอุบาสิกาวิสาขา สหายของดิฉันอยู่ในกรุงสาวัตถี ได้สร้างมหาวิหารถวายสงฆ์ ดิฉันเห็นมหาวิหารและการบริจาคทรัพย์อุทิศสงฆ์ ได้บังเกิดความเลื่อมใสในบุญนั้น จึงอนุโมทนาบุญด้วยใจที่เปี่ยมด้วยศรัทธาและมหาปีติ ดิฉันได้วิมานที่อัศจรรย์น่าทัศนา ก็เพราะการอนุโมทนาบุญอันบริสุทธิ์ในครั้งนั้น
อานุภาพหล่อทองหลวงปู่ ตอน ผลบุญอัศจรรย์เหลือเชื่อแต่จริง
ตั้งแต่ครั้งแรกๆ ที่ลูกได้มาทำบุญที่วัดพระธรรมกาย ลูกได้ทำบุญกฐินมาตลอดค่ะ ทำตั้งแต่กองละ 10,000 บาททำติดต่อกัน 2 ปี ก็ได้เห็นประธานรองเขาทำกันกองละ M ลูกก็อยากทำบ้าง แต่ตอนนั้นคนในครอบครัวยังไม่เข้าใจวัด ลูกจึงได้แต่อธิษฐานจิต...
เดินตามทางของบัณฑิต ตอนที่ ( ๑ )
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุนี้เมื่อชาติก่อนเคยเป็นผู้ไม่ให้ทานมาก่อน เป็นผู้ตระหนี่เหนียวแน่น แม้หยาดน้ำมันเพียงเล็กน้อยก็หวงแหนไม่ยอมให้ใคร ต่อมาเราได้ทรมานเธอ กระทำให้หมดพยศ พรรณนาผลแห่งการให้ทาน และให้ตั้งอยู่ในทาน เธอจึงหันกลับมาให้ทานอีกครั้งหนึ่ง ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุรูปนี้เคยได้รับพรในสำนักของเราว่า แม้ได้น้ำมาเล็กน้อยเพียงซองมือหนึ่ง หากมิได้ให้ทาน จักไม่ดื่มน้ำนั้น ด้วยผลแห่งการที่ได้รับพรในสำนักของเรานี้ เธอจึงเป็นผู้มีอัธยาศัยในการให้ทาน
พระศรีอริยเมตไตรย์ ตอนที่ 3 สุเมธดาบสได้รับพยากรณ์
กว่าพระบรมโพธิสัตว์แต่ละพระองค์จะได้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทุกๆพระองค์จะต้องเอาชีวิตเป็นเดิมพันในการสร้างบารมี
ไม่กลัวการผูกมัด-ไม่หวงชีวิตโสด หนุ่มชี้อยู่คนเดียวดีกว่าเลือกคนผิด
เดินตามทางของบัณฑิต ตอนที่ ( ๒ )
บุคคลให้ทานไม่ได้เพราะเหตุผล ๒ ประการ คือ ความ ตระหนี่ และความประมาท บัณฑิตผู้รู้แจ้ง เมื่อต้องการบุญพึงให้ทาน คนตระหนี่กลัวความอดอยากยากจน เพราะความกลัวจนนั่นแหละ จะเป็นภัยแก่ผู้ไม่ให้ และจะกลับมามีผลต่อคนพาลผู้หลงผิด ฉะนั้น บัณฑิตพึงครอบงำมลทิน กำจัดความตระหนี่แล้วรีบให้ทาน เพราะบุญเป็นที่พึ่งของสัตว์ทั้งหลาย ทั้งในโลกนี้และโลกหน้า
มหัศจรรย์วันออกพรรษา
พระจันทร์ พระอาทิตย์ ซึ่งปราศจากมลทิน ย่อมแจ่มกระจ่างในท้องฟ้า ซึ่งปราศจากเมฆฝน ฉันใด ข้าแต่พระองค์ ผู้มีพระรัศมีซ่านออกแต่พระสรีรกาย ผู้เป็นมหามุนี พระองค์ย่อมรุ่งเรืองล่วงสรรพสัตวโลก ด้วยพระยศ ฉันนั้น ดังนี้
มงคลที่ ๒๕ มีความกตัญญู - บุญคุณต้องทดแทน
พระกุมารคิดว่า ถ้าเราได้เป็นกษัตริย์แล้ว จะฆ่าพระฤๅษีองค์นี้ให้ได้ จึง กล่าวว่า พระคุณเจ้าผู้เจริญ เมื่อกระผมได้ครองราชสมบัติแล้ว ขอให้ท่านไปหากระผม กระผมจะบำรุงอุปัฏฐากรับใช้ท่านอย่างไม่ให้ขาดตกบกพร่องเลย แล้วก็ลากลับเมือง เมื่อพระกุมารกลับเข้าพระนครไม่นาน ก็ทรง ขึ้นครองราชย์ต่อจากพระราชบิดา
มงคลที่ ๒๐ สำรวมจากการดื่มน้ำเมา - น้ำอุบาทว์ผลาญชีวิตและทรัพสิน
เมื่อลูกชายขี้เมาได้หม้อสารพัดนึก แทนที่จะทำตามโอวาทที่ท้าวสักกะให้ไว้ กลับยิ้มย่องคิดว่า ตัวเรานี้ช่างโชคดีเหลือเกิน มีเทวดาคอยช่วยเหลือ จึงเที่ยวดื่มสุรากับเพื่อนๆ ไม่ยอมทำมาหากิน วันหนึ่ง ลูกชายเมามาก และด้วยความคึกคะนอง ได้โยนหม้อขึ้นไปในอากาศ แต่โชคร้ายที่เกิดรับพลาด หม้อได้ตกลงมาแตก