มงคลที่ ๓๑ บำเพ็ญตบะ - แม้ตายก็ไม่ทิ้งธรรม
คืนนั้น มีนายพรานคนหนึ่งเห็นท่าน คิดว่าเป็นเนื้อ พุ่งหอกออกไป หอกได้ปักทะลุอก ครั้นนายพรานเห็นว่าเป็นพระ ก็ตกใจรีบเข้าไปหา พระเถระตั้งสติใจไม่เคลื่อนจากฐานที่ตั้งของใจ ท่านขอให้นายพรานชักหอกออก แล้วเอาเกลียวหญ้าอุดปากแผลไว้ แม้เลือดจะไหลไม่หยุด แต่สภาวะใจของท่านยังคงสงบนิ่งไม่กระเพื่อม ท่านตั้งใจมั่นว่าจะเอาชีวิตเป็นเดิมพัน แม้ตายจะไม่ทิ้งธรรม
ผู้จรรโลงพระพุทธศาสนา
ผู้ใดมีความเชื่อในพระตถาคต ตั้งมั่นไม่หวั่นไหว มีศีลอันงาม อันพระอริยะชอบใจ สรรเสริญ มีความเลื่อมใสในพระสงฆ์ และมีความเห็นตรง บัณฑิตทั้งหลายกล่าวผู้นั้นว่า ไม่เป็นคนขัดสน ชีวิตของบุคคลนั้นไม่เปล่าประโยชน์
ทุ่มสุดชีวิต เพื่ออภิสัมโพธิญาณ
ชีวิตเป็นสิ่งที่มีคุณค่า กาลเวลาเป็นสิ่งที่มีความหมาย เรามีชีวิตอยู่ในโลกนี้เพียงชั่วครั้งชั่วคราว ไม่ช้าทุกคนต่างต้องจากโลกนี้ไป แม้ทรัพย์สมบัติภายนอกที่มีอยู่ ก็ไม่อาจนำติดตัวไปได้ สิ่งที่จะติดตัวเราไป มีเพียงบุญกับบาปเท่านั้นเอง หากเราสั่งสมบุญ ชีวิตเราก็จะมีคุณค่า เกิดมาแล้วมีชีวิตไม่ว่างเปล่า เป็นประโยชน์ต่อตนเอง และผู้อื่น เพราะเราได้ใช้วันเวลาอันน้อยนิดที่มีอยู่ในโลกนี้ สร้างบารมีอย่างเต็มที่โดยไม่ประมาท เช่นเดียวกับพระบรมโพธิสัตว์ทั้งหลายในกาลก่อน พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเมื่อยังเป็นโพธิสัตว์ เสวยพระชาติเป็นพระเจ้าสุตโสมได้ตรัสให้โอวาทแก่พญาโปริสาทว่
สักกปัญหสูตร ตอนที่๑ ( ฤาจะสิ้นท้าวสักกะ )
การที่จะดำรงภาวะของความเป็นมนุษย์ ให้บริสุทธิ์บริบูรณ์นั้น เป็นสิ่งที่ทำได้ยาก เพราะจะต้องดำรงตนให้รอดปลอดภัยจากอบายภูมิ
อานิสงส์ถวายนมสด
บุญนิธินั้น ให้สมบัติน่าใคร่ทุกอย่างแก่ทวยเทพและมนุษย์ ปรารถนาผลใดๆ ผลนั้นๆ ทั้งปวง ย่อมได้ด้วยบุญนิธินั้น ความเป็นผู้มีวรรณะงาม ความเป็นผู้มีเสียงไพเราะ ความมีทรวดทรงสมส่วน ความเป็นผู้มีรูปสวย ความเป็นใหญ่ ความมีบริวาร ผลทั้งปวงย่อมได้ด้วยบุญนิธินั้น
ตัณหาไม่สิ้นสุด
โลกอันตัณหาย่อมนำพาไป อันตัณหาย่อมผลักไสไป โลกทั้งหมดเป็นไปตามอำนาจของธรรมอย่างหนึ่ง คือตัณหา บัณฑิตพึงรู้โทษของตัณหาว่า เป็นเหตุให้เกิดทุกข์ พึงเป็นผู้ปราศจากตัณหา ไม่ถือมั่น มีสติอยู่ทุกเมื่อ
พระปิยทัสสีพุทธเจ้า (๓)
วันเวลาผ่านไปอย่างรวดเร็ว ทุกชีวิตย่างสู่วัยเสื่อมและวัยชรา หากเรามองย้อนไปพิจารณาการกระทำของเรามาแล้วพบว่า
มงคลที่ ๗ เป็นพหูสูต - ปัญญาพิชิตปัญหา
พระโพธิสัตว์ได้ใช้สติปัญญา แก้ข้อครหาของอำมาตย์ทั้ง ๕ คน เช่น เรียกให้อุจเฉทวาทีอำมาตย์เข้ามา พลางกล่าวว่า "ท่าน กล่าวว่า ทานที่บุคคลให้แล้วไม่มีผล และยังสำคัญว่า สัตว์ทั้งหลายย่อมขาดสูญในโลกนี้เท่านั้น สัตว์ผู้ไปสู่ปรโลกไม่มีเลย แล้วมาหัวเราะเยาะเราทำไม"
พระมหากัสสปเถระ (๑)
ชนผู้ปรารถนาอายุ วรรณะ ยศ เกียรติ สวรรค์ ความเกิดในตระกูลสูง และความเพลินใจ พึงทำความไม่ประมาทให้มากยิ่งขึ้น บัณฑิตทั้งหลายย่อมสรรเสริญความไม่ประมาทในการทำบุญ บัณฑิตผู้ไม่ประมาทแล้ว ย่อมยึดถือประโยชน์ทั้งสองไว้ได้ คือประโยชน์ในปัจจุบัน และประโยชน์ในสัมปรายภพ
ดำรงตนบนหนทางสู่สวรรค์
มารดาบิดา หรือว่าญาติเหล่าอื่น ไม่พึงทำเหตุนั้นให้ได้ แต่จิตอันตั้งไว้ชอบแล้ว พึงทำเขาให้ประเสริฐกว่าเหตุนั้น