ดุลยภาพบำบัด
ดุลยภาพบำบัด คือ วิธีการป้องกันบำบัดรักษาโรคและบำรุงสุขภาพ ด้วยการปรับความสมดุลโครงสร้างของร่างกาย ดุลยภาพบำบัดจึงเป็นกระบวนทัศน์ใหม่ด้านสุขภาพและการแพทย์ที่ประยุกต์ใช้ความรู้พื้นฐานทางกายวิภาคและสรีรวิทยา เพื่อป้องกันและรักษาโรคด้วยตนเอง
การระวังรักษาภาวะสมดุลของอิริยาบถ
การระวังรักษาภาวะสมดุลของอิริยาบถ หมายถึง ในการนั่ง นอน ยืน เดิน วิ่ง ทำงานหรือกิจกรรมใดๆ ก็ตาม ต้องฝึกตัวเอง ให้มีสติระวังรักษาแนวกระดูกสันหลังให้อยู่ในแนวแกนปกติของร่างกายอยู่เสมอ ด้วยการยืดแนวกระดูกสันหลังอย่างถูกวิธี
อิริยาบถในชีวิตประจำวันที่ถูกและผิด (1)
ตัวอย่างอิริยาบทในชีวิตประจำวันที่ผิด และวิธีปฏิบัติอิริยาบทที่ถูกต้อง ได้แก่ ท่านั่งสมาธิ ท่านั่งพับเพียบ ท่านั่งเทพบุตร ท่านั่งบนเก้าอี้ และท่านั่งอ่านหนังสือบนโต๊ะ
อิริยาบถในชีวิตประจำวันที่ถูกและผิด (2)
ตัวอย่างอิริยาบทในชีวิตประจำวันที่ผิด และวิธีปฏิบัติอิริยาบทที่ถูกต้อง ได้แก่ ท่านั่งขับรถ, ท่ายืน เดิน วิ่ง, ท่ายกสิ่งของที่พื้น, ท่านอนที่ถูกต้อง
การบริหารเพื่อจัดโครงสร้างของร่างกาย
การบริหารเพื่อจัดโครงสร้างของร่างกาย คือ การบริหารร่างกาย เพื่อจัดการให้โครงสร้างของร่างกายอยู่ในภาวะสมดุลเสมอด้วยตัวของมันเอง นอกจากจะเป็นการจัดการให้โครงสร้างของร่างกายกลับสู่ภาวะสมดุลแล้ว ยังเป็นการฝึกกล้ามเนื้อให้ได้เรียนรู้ว่า การเคลื่อนไหวหรือการถูกดึงรั้งไปในทิศทางใด ผิดหรือถูกต้อง
การทำกายบริหารในท่านั่งเบื้องต้น ตอนที่ 1
รายละเอียดของกายบริหารในท่านั่ง ได้แก่ ท่าเตรียมพร้อม, กายบริหารท่าที่ 1 และกายบริหารท่าที่ 2
การทำกายบริหารในท่านั่งเบื้องต้น ตอนที่ 2
รายละเอียดกายบริหารในท่านั่ง ได้แก่ กายบริหารท่าที่ 3 และกายบริหารท่าที่ 4
การทำกายบริหารในท่านอน
กายบริหารในท่านอน (การบิดขี้เกียจอย่างมีสติ) ให้บริหารร่างกายในท่านอนนี้ทุกวัน เวลาเข้านอน และก่อนจะลุกจากที่นอน หรือแม้เวลานอนพัก
การลุกจากที่นอน
คนเราต้องฝึกบริหารร่างกายอย่างน้อยวันละครั้ง แต่ดีที่สุดควรเป็น วันละ 2-3 ครั้ง คือ ตอนเช้าเมื่อตื่นนอน ตอนกลางวันช่วงพักจากการทำงาน และตอนเย็นก็บริหารอีกรอบ เพื่อจัดโครงสร้างของร่างกายให้เข้าที่ก่อนจะพักผ่อน
การผ่อนคลายกล้ามเนื้อและเส้นเอ็น
วิธีการผ่อนคลายกล้ามเนื้อมีอยู่หลายวิธี เช่น การนวด โยคะ ฤๅษีดัดตน การฝังเข็ม เป็นต้น ถ้าปฏิบัติได้ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ของแต่ละวิธี ย่อมสามารถคลายกล้ามเนื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การออกกำลังกาย
การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ จะส่งผลให้กล้ามเนื้อ ซึ่งเป็นส่วนประกอบสำคัญของโครงสร้างของร่างกาย มีความแข็งแรง มีความทนทานสูง มีความยืดหยุ่น และมีความคล่องตัว ย่อมส่งเสริมให้การรักษาภาวะสมดุลโครงสร้างของร่างกายมีประสิทธิยิ่งขึ้น
นวดอย่างไร จึงจะเหมาะสมสำหรับผู้ปฏิบัติธรรม (1)
ผู้ปฏิบัติธรรมส่วนใหญ่ มักจะมีปัญหาเรื่องปวดหลังเพราะชอบเผลอนั่งหลังงอ ปัญหานี้สามารถนวดคลายอาการปวดหลังด้วยตนเองได้ง่ายๆ
นวดอย่างไร จึงจะเหมาะสมสำหรับผู้ปฏิบัติธรรม (2)
อาการปวดหัวที่ต้องระวัง
อาการปวดหัวมีระดับของความรุนแรงที่แบ่งไปแต่ละประเภท เช่น การปวดหัวทั่วไปหรือปวดหัวไมเกรน เพราะฉะนั้นเราจะสังเกตอย่างไรว่าอาการขั้นไหนที่รุนแรงหรือไม่ ต้องรักษาอย่างไร
น้ำมันหอมระเหย
ในชีวิตประจำวันเราสามารถใช้น้ำมันหอมระเหยได้หลายวิธี โดยปกติในแต่ละวันเราอาจจะมีคนมาเยี่ยมเยือน บางคนอาจจะมีโรคทางเดินหายใจ เพราะฉะนั้นโอกาสที่เราจะหายใจเอาโรคเข้ามาสู่บ้านเราได้ ดังนั้นน้ำมันหอมระเหยก็เป็นวิธีการหนึ่งในการที่จะทำการฆ่าเชื้อโรค
Share
แชร์ลิงค์หน้านี้