ตาย เงื่อนไขที่ปรากฏอารมณ์ 3 ก่อนตาย
ความตายเป็นอย่างไร ตายแล้วไปไหน ชีวิตหลังความตายเป็นอย่างไร อารมณ์ก่อนตายเกิดขึ้นจากอะไร เกิดขึ้นได้อย่างไร
รายชื่อหัวหน้าองค์กรเครือข่ายยุวพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก
ได้รับเกียรติจากหัวหน้าองค์กรเครือข่าย ที่เป็นสมาชิกขององค์การยุวพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก(ยพสล.) ประกอบด้วยพระภิกษุ 7 รูป, ภิกษุณี 3 รูป และฆราวาส 30 ท่าน
เสาหลักต้นเล็ก
เด็กบางคนอายุยังน้อยกลับต้องทำงานหาเลี้ยงครอบครัว กลายเป็นเสาหลักให้ครอบครัวแม้ยังเป็นเสาหลักต้นเล็กอยู่
มงคลที่ ๓๔ ทำพระนิพพานให้แจ้ง - จุดมุ่งหมายสูงสุดของชีวิต
ด้วยจิตที่จะอนุเคราะห์พระราชา พระปัจเจกพุทธเจ้าจึงถวายพระพรว่า "ธรรมดานักโทษย่อมไม่ยินดีในเรือนจำ มีแต่ดิ้นรนแสวงหาหนทางออกจากเรือนจำนั้นอย่างเดียว ขอพระองค์จงเป็นเช่นนั้นเถิด จงเห็นภพทั้งหมดเหมือนเรือนจำเถิด โลกนี้ถูกความมืด คือ อวิชชา ห่อหุ้มไว้ ตราบใดที่สัตวโลกยังไม่ได้รับแสงสว่างจากพระสัทธรรม เปรียบเสมือนตกอยู่ในคุกมืด..."
มงคลที่ ๓๑ บำเพ็ญตบะ - ตบะธรรมชนะกิเลส
ท้าวสักกะทรงดำริว่า “ดาบสนี้มีอานุภาพมากจะทำให้เราเคลื่อนจากความเป็นท้าวสักกะ เราจะต้องร่วมมือกับพระเจ้าพาราณสี ทำลายตบะของดาบสนั้นให้ได้” ครั้นเวลาเที่ยงคืน จึงเสด็จไปยังห้องบรรทมของพระเจ้าพาราณสี แสดงอานุภาพของท้าวสักกะ พลางตรัสกับพระราชาว่า
คารวะ ๖
ศัพท์ว่า "คารวะ" แปลกันว่า ความเคารพ หมายถึงความเอื้อเฟื้อ มักจะพูดติดต่อกันว่า ความเคารพเอื้อเฟื้อและมักจะใช้คู่กับคำว่า "นับถือบูชา" โดยความหมาย ก็คือ การปฏิบัติดีปฏิบัติชอบยกย่องเชิดชู ไม่ลบหลู่ดูหมิ่น ในบุคคลนั้นๆ และในธรรมนั้นๆ
พระนันทกเถระ (๑)
ความเคลือบแคลงสงสัยของหมู่ชน ย่อมไม่มีในวันอุโบสถขึ้น ๑๕ ค่ำ ว่าพระจันทร์จะพร่องหรือเต็มก็ตาม แต่พระจันทร์ก็คงเต็มดวง ฉันใด ภิกษุณีเหล่านั้น มีความชื่นชมยินดีต่อการแสดงธรรมของพระนันทกะ และมีความดำริบริบูรณ์แล้ว ก็ฉันนั้น
มงคลที่ 38 - จิตเกษม - พากเพียรเถิดให้เกิดบุญบารมี
พระบรมศาสดาซึ่งประทับอยู่ในพระคันธกุฎี ได้เห็นความตั้งใจจริงของนาง จึงแผ่พระรัศมีออกไป เหมือนประทับนั่งอยู่ต่อหน้า แล้วตรัสพระธรรมเทศนาว่า "ผู้ใดไม่เห็นธรรมอันยอดเยี่ยม พึงเป็นอยู่ 100ปี ความเป็นอยู่วันเดียวของผู้เห็นธรรมอันยอดเยี่ยม ประเสริฐกว่าความเป็นอยู่ของผู้นั้น"
เนมิราชชาดกบําเพ็ญอธิษฐานบารมี(3)
บุคคลย่อมบังเกิดในขัตติยตระกูลเพราะพรหมจรรย์ขั้นต่ำ บุคคลย่อมเข้าถึงความเป็นเทวดาเพราะพรหมจรรย์ชั้นกลาง และบุคคลย่อมบริสุทธิ์ เพราะพรหมจรรย์อย่างสูงสุด
ปราศจากวิญญาณ
วิญญาณ ในพระพุทธศาสนา ไม่ใช่หมายถึง วิญญาณล่องลอยที่เป็นผี แต่หมายถึงสภาพธรรมที่รู้อารมณ์ คือ เป็นสภาพรู้ เป็นใหญ่ในการรู้ เรียกว่าวิญญาณ คือ จิต ดังนั้นเมื่อกล่าวถึงวิญญาณก็คือสภาพธรรมที่เป็นจิต วิญญาณหรือ จิตจึงมีหลายประเภทเช่น จักขุวิญญาณ หรือ จิตเห็น โสตวิญญาณ หรือ จิตได้ยิน ดังนั้นเมื่อวิญญาณหรือจิตเกิดขึ้น เป็นสภาพรู้ ก็ต้องมีสิ่งที่ถูกรู้ เช่น จิตเห็น(จักขุ วิญญาณจิต) เมื่อเกิดขึ้นก็ต้องมีสิ่งที่ถูกเห็นคือ สี เป็นต้น