การปฏิบัติเพื่อฝึกใจตามเส้นทางสายกลาง
ในธัมมจักกัปปวัตนสูตรอันเป็นพระสูตรที่กล่าวถึงปฐมเทศนาของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงกล่าวถึง มัชฌิมาปฏิปทา หรือ ทางสายกลาง ซึ่งเป็นหนทางหรือข้อปฏิบัติที่ไม่ตึงเกินไปจนเป็นความลำบากแก่ตน (อัตตกิลมถานุโยค) ไม่หย่อนเกินไปจนเป็นการพอกพูนกามกิเลส(กามสุขัลลิกานุโยค) ...
ความขยันหมั่นเพียร
ความขยันหมั่นเพียร เป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้บุคคลมีความเจริญก้าวหน้าและประสบความสำเร็จในชีวิต คนขยันหมั่นเพียรย่อมพึ่งตนเองและครองตนได้
อานิสงส์ของผู้มีศีลและอาจาระ
เราได้เข้ารักษาอุโบสถอันประกอบด้วยองค์ ๘ ประการ นำมาซึ่งความสุขอันกำหนดไม่ได้เลยเนืองนิตย์ และได้สร้างกุศลธรรมไว้อย่างบริบูรณ์ ครั้นจุติจากโลกมนุษย์แล้ว ได้บังเกิดเป็นเทพธิดาผู้มีรัศมีในกายของตัวเอง เที่ยวรื่นรมย์อยู่รอบๆ สวนนันทวัน
ก็ยังดี...
ใครๆ ก็ชอบพูดว่า "เส้นทางสู่ความสำเร็จ ไม่ได้โรยด้วยกลีบกุหลาบ" แต่เมื่อชีวิตต้องพบกับอุปสรรคเข้าจริงๆ กลับพูดกันว่า "ทำไมถึงต้องเป็นเรา" "ทำไมเราถึงโชคร้าย" และอื่น ๆ อีกมากมาย
บุพการี คือ ต้นทางสวรรค์ของลูกหลาน
การดูแลปรนนิบัติบุพการีเป็นหน้าที่ที่บุตรทุกๆคนควรกระทำ เพราะจะได้บุญใหญ่ติดตามตัวไปข้ามภพข้ามชาติ
ทางสายกลางเส้นทางตรัสรู้ของพระพุทธองค์
วันเพ็ญ ๑๕ ค่ำ เดือน ๖ นับเป็นวันสำคัญที่มหาบุรุษ เจ้าชายสิทธัตถะบำเพ็ญเพียรทางจิต ณ ควงไม้ศรีมหาโพธิ์ จนกระทั่งตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าด้วยการดำเนินจิตตามทางสายกลางหรือมัชฌิมาปฏิปทา
อาทิตตปริยายสูตร
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สิ่งทั้งปวงเป็นของร้อน ก็อะไรเล่าชื่อว่าสิ่งทั้งปวงเป็นของร้อน ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย จักษุเป็นของร้อน รูปทั้งหลายเป็นของร้อน วิญญาณอาศัยจักษุเป็นของร้อน สัมผัสอาศัยจักษุเป็นของร้อน ความเสวยอารมณ์เป็นสุขเป็นทุกข์ หรือมิใช่สุขมิใช่ทุกข์ ที่เกิดขึ้นเพราะจักขุสัมผัสเป็นปัจจัย แม้นั้นก็เป็นของร้อน
เปรตหญิงสาวผู้หิวโหย
ในเปรตวิสัยนั้น ไม่มีกสิกรรม การเลี้ยงโคในเปรตวิสัยก็ไม่มี การค้าขายหรือการซื้อขายด้วยเงินก็ไม่มี สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงกาลล่วงสิ้นไปแล้ว ย่อมยังอัตภาพให้เป็นไปในเปรตวิสัยนั้น ด้วยทานอันเขาให้แล้วในมนุษยโลก
เปรต ๑๒ ตระกูล (๑)
เปตวิสัยนั้น ไม่มีกสิกรรม ไม่มีการเลี้ยงโค การค้าขายก็ไม่มี การซื้อการขายด้วยเงินก็ไม่มี สัตว์ผู้ทำกาละจะไปเกิดในเปตวิสัยนั้น ย่อมยังอัตภาพให้เป็นไปด้วยทานที่ญาติหรือมิตรให้แล้วแต่มนุษยโลกนี้
มงคลที่ ๑๙ งดเ้ว้นจากบาป - ผู้ก่อบาปกรรม ย่อมแพ้สงครามแห่งชีวิต
นายจุนทะ ผู้เลี้ยงชีพด้วยการขายเนื้อสุกร เขามีชีวิตอยู่กับการฆ่าสุกรมาตลอด ๕๕ ปี ทุกวันหลังจากที่ฆ่าสุกรแล้ว เขาจะแบ่งเนื้อไว้กินกันเองในครอบครัว และนำเนื้อส่วนที่เหลือไปขายเลี้ยงชีพ ตลอดชีวิตที่ผ่านมา เขาไม่เคยประกอบกุศลกรรมใดๆ ไม่ว่าจะเป็นการทำทาน รักษาศีล หรือเจริญภาวนา แม้พระบรมศาสดาจะประทับอยู่ในวัดเวฬุวัน ซึ่งอยู่ใกล้ๆ บ้าน เขาก็ไม่เคยไปวัด ไม่เคยถวายอาหารแม้เพียงข้าวทัพพีเดียว มีแต่ทำบาปกรรมมาตลอด