มุทุลักขณชาดก-ชาดกว่าด้วยกามกิเลสคือต้นเหตุแห่งความเศร้าหมอง
สมัยพุทธกาลผ่านมาพระเชตะวันมหาวิหารของพระบรมศาสดาร่มเย็นเป็นที่พึ่งพาของเวไนยสัตว์อย่างทั่วถึง ดุจแสงจันทร์วันเพ็ญอันสว่างนวลทั่วปริมณฑล แต่จันทร์กระจ่างฟ้าก็หาทำความรื่นรมย์ได้ทั่วทุกคนไม่ ยังมีภิกษุหนุ่มชาวสาวัตถีรูปหนึ่งกำลังกลัดกลุ้มอยู่กับความทุกข์ภายใต้แสงจันทร์นวลทุกราตรี
นันทชาดก-ชาดกว่าด้วยความมานะถือตัว
เมื่อฤดูฝนอย่างกรายมาถึงพระภิกษุทั้งหลายก็อยู่จำพรรษาตามพุทธบัญญัติ มิได้ออกเที่ยวจาริกที่ใดๆได้ตามปกติเป็นเวลานาน 3 เดือน ครั้นวสันตฤดูผ่านพ้นภิกษุในพระเชตะวันมหาวิหารก็พร้อมที่จะเดินทางออกไปเผยแผ่พุทธธรรมดังที่เคยกระทำต่อเนื่องกันมาอีกครั้ง
จุลลกเศรษฐี-ชาดกว่าด้วยความฉลาดในการสร้างฐานะ
ในสมัยพุทธกาลขณะที่องค์พระบรมศาสดาทรงสอดส่องพระพุทธญาณ ณ วัดชีวกัมพวัณ กรุงราชคฤห์เพื่อโปรดเวไนยสัตว์ผู้ตกทุกข์ดังที่ทรงบำเพ็ญอยู่เป็นนิจ พลันสายพระเนตรทรงเห็นภิกษุหนุ่มจุลลปัณฐกะที่ท้อถอยสิ้นความเพียร เนื่องด้วยมีสติปัญญาทึบ
กูฏวาณิชชาดก ชาดกว่าด้วยหนามยอกเอาหนามบ่ง
นายบัณฑิตนั้นไม่ใช่คนโง่ เขาสังเกตเห็นพิรุจหลายอย่างจึงคิดพิสูจน์ว่ารุกขเทวดาที่ต้นไม้นั้นมีอยู่จริงหรือไม่ “ สหายจะให้เราเชื่อเช่นนั้นก็ได้ แต่เราขอพิสูจน์ให้แน่ใจก่อนนะ ” นายบัณฑิตได้เดินไปเก็บฟืนแล้วนำกองไว้ที่โคนต้นไม้ จุดไฟเผาในโพรงไม้นั้น “….เดี๋ยวเถอะจะได้รู้กันว่าเทวดาจริงหรือเทวดาปลอมกันแน่...”
กัณหชาดก ชาดกว่าด้วยผู้เอาการเอางาน
ในอาณาจักรอันยิ่งใหญ่ของมคธรัตนนั้น มีความยิ่งใหญ่และสำคัญยิ่งของพุทธศาสนาควบคู่อยู่ด้วยกันหลายประการ หนึ่งในนั้นคือ พระเวฬุวณาราม ซึ่งเป็นวัดแห่งแรกของพระพุทธศาสนาก็ได้สร้างขึ้น ณ ดินแดนแห่งนี้ โอวาทปาฏิโมกข์ที่พระพุทธองค์ทรงแสดงแก่อริยสาวก 1,250 รูป และการบัญญัติพระธรรมวินัยในหลายสิกขาบท
กุรุงคมิคชาดกว่าด้วยการร่วมด้วยช่วยกัน
กุรุงคมิคชาดก เป็นเรื่องของสัตว์ 3 ตัว คือ เต่า นกสตปัตตะ กวาง สัตว์ทั้งสามตัวเป็นเพื่อนรักกัน และเหตุที่ทุกตัวไม่คาดคิดก็เกิดขึ้น เจ้ากวางถูกกับดักติดบ่วงของนายพราน เพื่อนรักอย่างเจ้านกและเจ้าเต่าจะมีวิธการช่วยเหลือเพื่อนกวางได้หรือไม่? อย่างไร?.....
กัณฑินาชาดก-ชาดกว่าด้วยโทษของการตกอยู่ในอำนาจสตรี
กุลบุตรตระกูลพราหมณ์ผู้หนึ่ง มีโอกาสได้ฟังธรรมในพระเวฬุวันอันเป็นอารามแรกในพระพุทธศาสนาก็ศรัทธาจนแก่กล้า ประพฤติตนอยู่ในหลักคำสอนตั้งแต่นั้น
อปัณณกธรรมชาดก-ชาดกว่าด้วยข้อปฏิบัติเพื่อป้องกันความผิดพลาด
นครสาวัตถี เนื่องด้วยอัญญเดียรถีย์เหล่านี้ล้วนเป็นคนกลับกลอก พอฟังธรรมก็เกิดศรัทธาประกาศตนเป็นพุทธมามกะ แต่พอพระพุทธศาสดาเสด็จจากไป ก็หันกลับไปนับถือลัทธิเดิมกันทั้งหมดสิ้น
พุทธศาสนิกชน ร่วมถวายข้าวสารอาหารแห้ง ผัก ผลไม้ ณ โรงครัว 71 ปี
พุทธศาสนิกชน ร่วมถวายข้าวสารอาหารแห้ง ผัก ผลไม้ตามฤดูกาล ณ ศาลามหาทานบารมี โรงครัว 71 ปี วัดพระธรรมกาย
กุมภชาดก ชาดกว่าด้วยโทษของสุรา
“ หม้อใบนี้เป็นหม้อที่มีโทษมาก ผู้ใดดื่มน้ำในหม้อนี้จะเสียผู้เสียคน ควบคุมสติไม่ได้ ทั้งแสดงกิริยาที่ไม่เหมาะสม บ้างก็เหมือนคนบ้า บ้างก็ด่าทอทะเลาะวิวาท ด่าบิดามารดา ฆ่าสมณะชีพราหมณ์ได้ น้ำในหม้อใบนี้เป็นน้ำสุรา หากประสงค์จะเห็นความพินาศของตนและบ้านเมือง ก็จงซื้อไปดื่มเถิด ”