พลิกชีวิตด้วยบุญทอดกฐิน ตอน ลูกพระธัมฮาวายส้มหล่นได้รับเชิญให้ออก TV ดังของอเมริกา
หลังจากทำบุญแล้วก็เกิดเหตุอัศจรรย์อย่างที่ลูกไม่คาดฝัน ประดุจส้มหล่นคือ มีรายการ TV Food Network ยอดฮิตของอเมริกา มาติดต่อขอสัมภาษณ์และถ่ายทำสกู๊ป ที่ร้านของลูกทันที
ธัมมัทธชชาดก ชาดกว่าด้วยพูดอย่างหนึ่งทำอย่างหนึ่ง
มีภิกษุอยู่รูปหนึ่งเป็นผู้ที่ชอบพูดจาโป้ปดอยู่เสมอ คำพูดอย่างหนึ่งแต่การกระทำอีกอย่างหนึ่งจนเป็นที่ระอาใจในหมู่ภิกษุสงฆ์ด้วยกัน ภิกษุทั้งหลายได้พาภิกษุที่ชอบโกหกไปเข้าเฝ้าองค์พระศาสดาเพื่อให้พระองค์ได้ชี้แนะตักเตือน
ความบริสุทธิ์แห่งทาน
ดูก่อนอานนท์ ก็ทักษิณาชื่อว่าบริสุทธิ์ทั้งฝ่ายทายก และฝ่ายปฏิคาหกอย่างไร ดูก่อนอานนท์ ในข้อนี้ ทายกก็เป็นผู้มีศีลมีธรรมงาม ปฏิคาหกก็เป็นผู้ศีล มีธรรมงาม
ศีล..ทางมาแห่งรูปสมบัติ
ศีลเป็นบ่อเกิดแห่งความสงบ ความดีงาม เนื่องจากศีลเป็นคุณธรรมที่ช่วยรักษา กาย วาจาให้เป็นระเบียบเรียบร้อย การรักษาศีลให้บริสุทธิ์จะทำให้ใจสงบ ปลอดกังวล ช่วยให้สามารถบรรลุธรรมได้โดยง่าย
ประเภทของสมาธิ
มงคลที่ ๓๑ บำเพ็ญตบะ - แม้ตายก็ไม่ทิ้งธรรม
คืนนั้น มีนายพรานคนหนึ่งเห็นท่าน คิดว่าเป็นเนื้อ พุ่งหอกออกไป หอกได้ปักทะลุอก ครั้นนายพรานเห็นว่าเป็นพระ ก็ตกใจรีบเข้าไปหา พระเถระตั้งสติใจไม่เคลื่อนจากฐานที่ตั้งของใจ ท่านขอให้นายพรานชักหอกออก แล้วเอาเกลียวหญ้าอุดปากแผลไว้ แม้เลือดจะไหลไม่หยุด แต่สภาวะใจของท่านยังคงสงบนิ่งไม่กระเพื่อม ท่านตั้งใจมั่นว่าจะเอาชีวิตเป็นเดิมพัน แม้ตายจะไม่ทิ้งธรรม
ขุนนางโฉดผู้โหดร้าย
หากชาวบ้านคนใดไม่ยอมจ่ายภาษีหรือจ่ายไม่ครบ ชาวบ้านคนนั้นก็จะถูกยึดพืชผลทางการเกษตร หรือถูกยึดที่นาจนไม่เหลือที่ทำมาหากิน
ทำไมถึงพลาดสิ่งที่อยากได้
ภิกษุทั้งหลาย ผู้ไม่ได้รับการศึกษา ไม่เห็นอริยเจ้า ไม่ฉลาดต่อคุณธรรมของพระอริยเจ้า เมื่อเขาไม่รู้จักสิ่งที่ควรเสพ,ไม่ควรเสพ,ควรคบ,ไม่ควรคบ,เพราะเหตุ เขาไม่รู้ตามที่เป็นจริงเช่นนั้น
กามเหมือนคบเพลิงหญ้า
กามทั้งหลาย พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า เปรียบด้วยคบเพลิงหญ้า มีทุกข์มาก มีความคับแค้นมาก... หาส่วนเหลือมิได้
มงคลที่ ๗ เป็นพหูสูต - สั่งสมปัญญาบารมี
ความรู้ในพระไตรปิฎกนั้น ยิ่งศึกษายิ่งแตกฉาน ทำให้เราเข้าใจและรู้หนทางไปสู่อายตนนิพพานเพิ่มมากขึ้น เสมือนได้นั่งอยู่เบื้องพระพักตร์ของพระบรมศาสดา กาย วาจา ใจ ของเราจะบริสุทธิ์เกลี้ยงเกลาตามพระองค์ไปด้วย ในตอนนี้จะได้อธิบายเกี่ยวกับหมวดพุทธวจนะ ในพระไตรปิฎก