คิดผิดคิดใหม่ได้ (๓)
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย กาล ๔ อย่างที่บุคคลบำเพ็ญโดยชอบ ให้เป็นไปโดยชอบ ย่อมให้ถึงความสิ้นอาสวะโดยลำดับ กาล ๔ นี้คือ การฟังธรรมตามกาล การสนทนาตามกาล การสงบตามกาล และการพิจารณาตามกาล กาล ๔ อย่างนี้ อันบุคคลบำเพ็ญโดยชอบ ให้เป็นไปโดยชอบ ย่อมให้ถึงความสิ้นอาสวะโดยลำดับ
ปลื้ม..เพราะกฐินนี้ “ชิตัง เม” ก่อนใคร ตอน ลูกกตัญญูของแท้มาแล้วครับ
ในช่วงที่ผมหันมาเข้าวัดพระธรรมกายอย่างจริงจัง และได้เข้าใจในเรื่องบุญอย่างลึกซึ้งแล้ว ผมก็มานั่งประมวลผลความคิดจนเกิดวิชั่นแบบเหนือระดับว่า..บุญที่ทำแล้วได้บุญมาก ก็คือ บุญจากการเป็นประธานกฐิน เพราะ 1 ปีมีครั้งเดียว อีกทั้งยังเป็นบุญที่ให้อานิสงส์มาก แบบจัดหนัก
สิ่งที่บรรพบุรุษรอคอย
ความวิบัติอันเป็นโทษทางกาย ๓ ประการคือ การฆ่า การลัก การประพฤติผิดในกาม และโทษทางวาจา ๔ ประการคือ พูดโกหก หยาบคาย ส่อเสียด เพ้อเจ้อ และโทษทางใจ ๓ ประการคือ อภิชฌา พยาบาท มิจฉาทิฏฐิ ย่อมมีวิบากเป็นทุกข์
อัศจรรย์เคี้ยว “มะนาว” เลิกบุหรี่ใน 2 สัปดาห์
โอวาทจากคุณครูไม่ใหญ่เรื่องเตรียม กาย วาจา ใจ ให้พร้อมก่อนเดินธุดงค์ฯ
เส้นทางมหาปูชนียาจารย์ ไม่ใช่เรื่องที่จะเกิดขึ้นง่ายๆ ใครได้เดินในเส้นทางนี้ก็ดี หรือได้มีส่วนร่วมสนับสนุนถวายกำลังใจแด่พุทธบุตรเนื้อนาบุญนี้ก็ดี ล้วนเป็นผู้มีบารมีแก่ๆทั้งสิ้น พอเขาเห็นความสงบเสงี่ยมสง่างามทั้งพระทั้งโยม
บ่อเกิดแห่งความสุข
ศีลเป็นประดุจฐานที่ตั้งอันมั่นคงที่จะทำให้ชีวิตดำรงอยู่ได้อย่างปลอดภัยและมีชัยชนะ กาย วาจา ที่ได้รับการอบรมในกรอบของศีลอย่างดีแล้ว จะก่อให้เกิดพลังใจที่ตั้งมั่นผ่องใสเป็นปกติ ผู้รักษาศีลจึงเป็นผู้ที่มีความสุขในทุกช่วงของชีวิต
เรื่องของกาม
"กาม" คืออะไร ศิลปะ การคำนวณ การค้าขาย ฯลฯ เกิดเพราะเหตุแห่งกาม...
ทาสแห่งความสวยงาม
มาร Mara - แปลว่า "ตาย" มารจึงแปลว่า "ผู้ให้ตาย" ในความหมายตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ให้ความหมายว่า มารเป็นเทวดาจำพวกหนึ่งมีใจบาปหยาบช้าคอยกีดกันไม่ให้ทำบุญ
มงคลที่ ๓๑ บำเพ็ญตบะ - แม้ตายก็ไม่ทิ้งธรรม
คืนนั้น มีนายพรานคนหนึ่งเห็นท่าน คิดว่าเป็นเนื้อ พุ่งหอกออกไป หอกได้ปักทะลุอก ครั้นนายพรานเห็นว่าเป็นพระ ก็ตกใจรีบเข้าไปหา พระเถระตั้งสติใจไม่เคลื่อนจากฐานที่ตั้งของใจ ท่านขอให้นายพรานชักหอกออก แล้วเอาเกลียวหญ้าอุดปากแผลไว้ แม้เลือดจะไหลไม่หยุด แต่สภาวะใจของท่านยังคงสงบนิ่งไม่กระเพื่อม ท่านตั้งใจมั่นว่าจะเอาชีวิตเป็นเดิมพัน แม้ตายจะไม่ทิ้งธรรม
การพัฒนาบุคคลากรด้วยปัญญา 3 ฐาน
ดร.วรภัทร์ ภู่เจริญ ได้เสนอวิธีการพัฒนาบุคลากรด้วยหลักปัญญา 3 ฐาน คือ ฐานกาย ฐานใจ ฐานความคิด ซึ่งแท้จริงแล้วนำมาจากหลักในพระพุทธศาสนานั่นเอง คือ ศีล สมาธิ ปัญญา ในเชิงบริหารนั่นเอง