เยี่ยมคนป่วย-ทำไมบุญที่ทำไว้ไม่ช่วย-หลวงพ่อตอบปัญหา
หากเราต้องไปเยี่ยมหรือไปดูแลญาติที่ป่วยหนัก ควรจะดูแลหรือให้กำลังใจเขาอย่างไรดี,ผู้ที่ประสบความทุกข์ในชีวิต มักจะมีความคิดว่าทำไมบุญที่เคยทำไว้ถึงไม่ช่วย จะอธิบายเขาอย่างไรดี
ธรรมะข้อโสรัจจะนี้สามารถช่วยปรับปรุงตัวเองให้ดีขึ้นได้หรือไม่
ลูกรู้ตัวว่าลูกไม่มีโสรัจจะ คือเวลาปรนนิบัติคุณแม่ที่ป่วยนานๆ จิตใจมักเศร้าหมอง เบื่อ รำคาญ เพราะคุณแม่ทั้งบ่นทั้งจู้จี้สารพัด ลูกจะเอาธรรมะข้อโสรัจจะนี้ปรับปรุงตัวเองให้ดีขึ้นจะได้ไหม
การพลิกตะแคงตัวผู้ป่วย
การป้องกันแผลกดทับของผู้ป่วย วิธีที่ดีทีสุด คือ การพลิกตะแคงตัวผู้ป่วยซึ่งเป็นวิธีป้องกันที่ดีที่สุด จึงมีวิธีปฏิบัติมาแนะนำว่าต้องทำอย่างไรบ้าง..
รักษาแม่จนเงินหมด
คำถาม : แม่ป่วยเป็นมะเร็งระยะที่ 3 พยายามรักษาเต็มที่จนเงินหมดควรทำอย่างไรดีคะ
เครื่องช่วยพยุงชีพของพ่อ
คำถาม : มีคุณโยมท่านหนึ่งถามมาว่าคุณพ่อป่วยหนักระยะสุดท้าย การที่ไม่ให้คุณหมอปั๊มหัวหรือพยุงชีพจัดเป็นบาปหนักอนันตริยกรรมหรือไม่ครับ
แม่เป็นผู้นำบุญ จังหวัดลำพูน
เรื่องราวชีวิตของจิตแพทย์ท่านหนึ่ง...เขาได้พบว่า ส่วนใหญ่คนที่มีปัญหาทางสุขภาพจิต มักเกิดจากการที่ตัวผู้ป่วยไม่สามารถควบคุม หรือทำความเข้าใจปัญหาต่างๆที่เกิดกับตัวเองได้ว่าเกิดจากอะไร ทำไมตัวเองถึงต้องประสบเคราะห์ร้ายกว่าคนอื่น และบางทีมักคิดว่าตัวเองช่างเป็นคนที่โชคร้ายที่สุดในโลก เขาจึงได้นำหลักธรรมคำสอน เกี่ยวกับกฎแห่งกรรมที่ได้จากโรงเรียนอนุบาลฝันในฝันวิทยา ไปถ่ายทอดให้แก่ผู้ป่วยของเขา บ้าง ตอบคำถามข้อข้องใจของผู้ป่วย บ้าง และได้ผลลัพธ์เป็นอย่างดี...
เมื่อญาติหรือคนที่เรารักป่วยหนักควรดูแลอย่างไร
ผู้ดูแลจะต้องอยู่ในบุญ และใช้อำนาจใจอธิษฐานให้บุญที่เราทำมาดีแล้วช่วยคุ้มครองคนไข้ด้วย ซึ่งจะทำให้เกิดผลดีแก่การรักษาคนไข้ยิ่งๆ ขึ้นไป
แถลงการณ์คณะแพทย์พยาบาลอาสาวัดพระธรรมกาย ทีมกู้ชีพรัตนเวช
จากเหตุการณ์โศกนาฏกรรม ที่มีผู้เสียชีวิตถึง 2 ศพ ที่เกิดจากการใช้ กฎหมาย ม.44 ที่ ปิดกั้นทางเข้าออกรอบวัดพระธรรมกาย คณะแพทย์พยาบาลอาสาวัดพระธรรมกาย ทีมกู้ชีพรัตนเวชรู้สึกสลดและโศกเศร้าใจเป็นอย่างมาก และไม่อยากให้เหตุการณ์อย่างนี้เกิดขึ้นอีก
คณะสงฆ์ จ.ปทุมธานีร่วมกับวัดพระธรรมกาย มอบเครื่องผลิตออกซิเจนแก่รพ.สนาม สบยช.
คณะสงฆ์จังหวัดปทุมธานีร่วมกับวัดพระธรรมกาย และภาคีเครือข่าย ได้มอบเครื่องผลิตออกซิเจนให้กับโรงพยาบาลสนาม สถาบันบำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดบรมราชชนนี (สบยช.) เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ต่อผู้ป่วยโรคโควิด-19
Case Study
ชายคนหนึ่งชอบดื่มเหล้า สูบบุหรี่ มาเลิกได้ก็เมื่ออายุ 60 ปี เนื่องจากป่วย ต้องเข้ารับการรักษาตัวที่โรงพยาบาล เขาได้ลูกสาวเป็นกัลยาณมิตรแนะนำให้ได้พบกับหมู่คณะ ได้มีโอกาสสร้างบุญกับหมู่คณะ ต่อมา เขาเสียชีวิต ด้วยโรคถุงลมโป่งพอง และมีโรคแทรกซ้อน รวมอายุได้ 71 ปี...ลูกสาวคนเล็กของเขา ได้พบหมู่คณะตั้งแต่อายุ 15 ปี นับแต่นั้น เธอก็สร้างบุญสร้างบารมีกับหมู่คณะมาตลอด ทั้งทำเอง และทำหน้าที่เป็นกัลยาณมิตรชักชวนเพื่อนให้เข้าวัด เธอเสียชีวิตด้วยมะเร็งในต่อมน้ำเหลือง เมื่ออายุได้ 27 ปีเศษ...ชีวิตหลังความตายของพ่อ และลูก คู่นี้ จะเป็นอย่างไร...