ความหมายของ ธรรม ในคำว่า ธรรมกาย
ธรรม ในคำว่าธรรมกาย ที่เป็นพระนามหนึ่งของพระตถาคตนั้นจึงควรหมายถึง โลกุตตรธรรม คือ มรรค ผลนิพพาน ที่เมื่อเข้าถึงแล้ว สามารถเปลี่ยนแปลงปุถุชนให้เป็นอริยบุคคล และเปลี่ยนอริยบุคคลชั้นต้นให้เป็นอริยบุคคลเบื้องสูงขึ้นไปได้นั่นเอง
มงคลที่ ๒๑ ไม่ประมาทในธรรม - แม้เป็นคนดี ก็ไม่ควรประมาท
รุ่งขึ้น พระราชาให้นำไหขนาดใหญ่บรรจุคูถจนเต็ม เอาใบตองมาผูกปากไหไว้ ให้ไปตั้งเรียงกัน ใส่น้ำมันยาง ต้นกากะทิง และหนามงิ้วหนาๆ จนเต็มหม้อ วางไว้หัวบันได ทรงให้พวกนักมวยร่างใหญ่ ถือค้อนยืนอยู่ใกล้ๆ หัวบันได จากนั้นพระองค์ทรงรอคอยด้วยความอาฆาตแค้นที่สุมแน่นอยู่ในอก
ประมุกของผู้หวังบุญ
ยัญทั้งหลายมีการบูชาไฟเป็นประมุขคัมภีร์สาวิตศาสตร์ เป็นประมุขแห่งคัมภีร์ฉันทฺ์พระราชาเป็นประมุขของมนุษย์ทั้งหลายสาครเป็นประมุขของแม่น้ำทั้งหลาย
วัดพระธรรมกาย และมูลนิธิธรรมกาย มอบถุงยังชีพ ช่วยเหลือผู้ประสบภัยน้ำท่วม จ.เชียงราย
วัดพระธรรมกายและมูลนิธิธรรมกาย ได้มอบถุงยังชีพช่วยเหลือผู้ประสบภัยน้ำท่วมในจังหวัดเชียงราย เพื่อบรรเทาความเดือดร้อน และขอแสดงความห่วงใย ส่งความปรารถนาดี ให้ทุกท่านมีกำลังกายกำลังใจที่เข้มแข็ง
อายุสั้น ไม่ทันเห็นกรรม
ในยามกลางของคืนวันตรัสรู้ของพระมหาบุรุษ พระองค์ทรงบรรลุจุตูปปาตญาณ คือ เห็นการเวียนว่ายตายเกิดของสรรพสัตว์ทั้งหลาย ทรงเห็นการส่งผลของกรรม ที่เป็นตัวกำหนดรูปกาย และสถานที่อยู่ของสัตว์ที่ตายไปแล้ว
ขอเชิญร่วมบุญจัดพิมพ์หนังสือ “ดีชั่ว” เกิดด้วยกรรมหรือบังเอิญ
มงคลที่ ๑ ไม่คบคนพาล - อย่าวางใจคนประทุษร้ายมิตร
ในครั้งที่พระพุทธองค์ยังเป็นพระโพธิสัตว์อยู่ ชาตินั้นได้เกิดเป็นบุตรของคฤหบดี แต่พลัดไปเกิดในฤกษ์โจร เมื่อเติบโตขึ้นเป็นโจรที่เก่งกาจ เพราะเป็นโจรที่ฉลาดมีปัญญามาก หาตัวจับได้ยาก จนมีชื่อเสียงปรากฏโด่งดังไปทั่ว
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - รักจริงไม่ยอมทิ้งกัน
ภรรยาพระโพธิสัตว์กล่าวปลอบโยนว่า "ข้า แต่นายผู้เจริญ ท่านอย่ากลัวเลย ดิฉันจะอ้อนวอนนายพรานให้ชีวิตแก่ท่าน ถ้าดิฉันอ้อนวอนไม่ได้ ก็จักให้ชีวิตของดิฉันแทน แล้วให้ปล่อยท่านไป" พลางยืนชิดกับพระโพธิสัตว์ผู้มีข้อเท้าที่บาดเจ็บสาหัสอาบไปด้วยโลหิต
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 6
อาจารย์เสนกะจินตนาการไปไกลว่า “หาก มโหสถกุมารนี้ได้เข้ามาอยู่ในราชสำนักเมื่อใด เราก็คงหมดความสำคัญ แม้พระราชาก็จักทรงลืมเราไปเสียสิ้น ไม่ช้าเราก็จะตกต่ำหมดรัศมี แม้ลาภ ยศ บริวาร และความเป็นใหญ่ก็จะพลอยสูญสิ้น จำเราจะต้องกราบทูลทัดทานไว้ก่อน”
การทำทานในพระพุทธศาสนา มีวัตถุประสงค์อย่างไร และทำได้กี่ประเภท - หลวงพ่อตอบปัญหา
การทำทานในพระพุทธศาสนา มีวัตถุประสงค์อย่างไร และทำได้กี่ประเภท, ทำไมพระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสว่า “ธรรมทานชนะการให้ทั้งปวง”, การถวายสังฆทาน จริงๆแล้วมีหลักอย่างไร และการถวายกับพระภิกษุรูปเดียว ถือเป็นสังฆทานหรือไม่ และการถวายสังฆทาน กับถวายแบบเจาะจง แบบไหนได้บุญมากกว่ากัน