ทบทวนโอวาทหลวงพ่อธัมมชโย บ่ายวันอาทิตย์ 11 สิงหาคม 2567
บุญที่เกิดจากการทำทาน รักษาศีล และเจริญภาวนาแตกต่างกันอย่างไร ผลลัพธ์ที่ได้จากการบริจาคทาน การรักษาศีล และการเจริญภาวนา
เป้าหมายชีวิตของมนุษย์
เป้าหมายชีวิตนั้นมีความสำคัญมาก เพราะเป็นจุดหมายปลายทางของการดำเนินชีวิตของเรา หากเรามีเป้าหมาย ความคิด คำพูด และการกระทำทุกอย่างในแต่ละวันจะมุ่งไปสู่เป้าหมายที่เราตั้งไว้ หากเราไม่ต้งั เป้าหมายชีวิตไว้ เราก็จะไม่ต่างอะไรกับนกกาที่หากินเพื่อความอยู่รอดไปวันหนึ่ง ๆ เมื่อหมดอายุขัยก็ตายจากโลกนี้ไป คนมีเป้าหมายชีวิตเปรียบเสมือนเรือเดินสมุทรที่มีหางเสือ มีกัปตันคอยชี้ทางว่าจะนำเรือมุ่งหน้าไปทางไหน เรือเดินสมุทรลำนี้จึงต่างจากขอนไม้ที่ล่องลอยอย่างไร้จุดหมายอยู่กลางทะเล ถูกคลื่นลูกนั้นลูกนี้ซัดไปมาให้เคว้งคว้าง และผุพังจมไปตามกาลเวลา
ผู้ขัดขวางการสร้างบารมี
ชนเหล่าใด จักสำรวมจิต ที่ท่องไปในที่ไกลๆ เที่ยวไปดวงเดียว ไม่มีสรีระ มีถ้ำเป็นที่อาศัย ชนเหล่านั้น จะพ้นจากเครื่องผูกแห่งมาร
คิดผิดคิดใหม่ได้ (๓)
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย กาล ๔ อย่างที่บุคคลบำเพ็ญโดยชอบ ให้เป็นไปโดยชอบ ย่อมให้ถึงความสิ้นอาสวะโดยลำดับ กาล ๔ นี้คือ การฟังธรรมตามกาล การสนทนาตามกาล การสงบตามกาล และการพิจารณาตามกาล กาล ๔ อย่างนี้ อันบุคคลบำเพ็ญโดยชอบ ให้เป็นไปโดยชอบ ย่อมให้ถึงความสิ้นอาสวะโดยลำดับ
คนยากจน vs คนจนยาก
ทำไมคนบางคนถึงยากจน แต่ทำไมคนบางคนถึงจนยาก รวยแล้วรวยอีก ...อะไรเป็นสาเหตุที่อยู่เบื้องหลังสิ่งนี้
ทำไมบนสวรรค์จึงมีทั้งเทวดาและมาร
เทวดายังมีชั้น จึงไม่แปลกที่มนุษย์มีการแบ่งชนชั้นวรรณะ ต้องไปแก้ที่เทวดาก่อน ถ้าแก้เทวดาไม่ตก มนุษย์ก็ยังมีชนชั้น ที่เทวดามีชั้นเพราะมีความละอายและเกรงกลัวต่อบาปไม่เท่ากัน
พรานป่ากับนายประตู
ความโลภนี้ไม่ดีเลย จะนำตัวเราไปสู่หนทางเสื่อม หากเราปรารถนาทรัพย์แล้ว ก็ต้องเร่งขวนขวายในการประกอบกิจการงานจึงจะควร
สัมมนาพิเศษแนวทางการสร้างสันติภาพโลกที่ยั่งยืน
วัดพระธรรมกายได้จัดสัมมนาพิเศษ เรื่อง “แนวทางการสร้างสันติภาพโลกที่ยั่งยืน” เนื่องในเทศกาลมาฆบูชา และครบรอบ 50 ปี วัดพระธรรมกาย
พิธีทอดผ้าป่าฉลองครบรอบ 20 ปี วัดพระธรรมกายบอร์คโด
วัดพระธรรมกายบอร์คโด ประเทศฝรั่งเศส ได้จัดพิธีเจริญพระพุทธมนต์และพิธีทอดผ้าป่าฉลองครบรอบ 20 ปี วันสถาปนาวัดพระธรรมกายบอร์คโด
เทพบุตรมาร (๒)
รูปที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ เสียงที่จะพึงรู้แจ้งด้วยหู กลิ่นที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจมูก รสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยลิ้น สัมผัสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยกาย ธรรมารมณ์ที่จะพึงรู้แจ้งด้วยใจ อันน่ารักน่าปรารถนาน่าใคร่ น่าพอใจ อาศัยความใคร่ ชวนให้กำหนัดมีอยู่ หากภิกษุไม่เพลิดเพลิน ไม่สรรเสริญ ไม่หมกมุ่น ไม่พัวพันอยู่ในรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสและธรรมารมณ์ ภิกษุนี้เรากล่าวว่า ไม่ไปสู่ที่อยู่ของมาร ไม่ตกอยู่ในอำนาจของมาร ไม่ถูกมารครอบงำ เป็นผู้พ้นจากบ่วงมาร ภิกษุนั้น มารผู้มีบาปพึงใช้บ่วง ทำตามความปรารถนาไม่ได้