ทศชาติชาดก เรื่องเนมิราช ผู้ยิ่งด้วยอธิษฐานบารมี ตอนที่ 5
พระราชาทรงเห็นความตั้งใจจริงของท่านปุโรหิต จึงทรงอนุญาต และตรัสอนุโมทนาว่า “ถ้าเช่นนั้น ท่านอาจารย์ก็จงบวชเถิด และเมื่อท่านอาจารย์ได้บวชแล้ว ก็จงมาเยี่ยมเราบ้างนะ”
เป็นมารต้องตกนรก
คำถาม : มารทำชั่วต้องตกนรกไหมคะ กฎแห่งกรรมใช้กับพญามารได้หรือไม่คะ
มงคลที่ ๓๓ เห็นอริยสัจ - ผู้ถึงความเต็มเปี่ยมของชีวิต
จนมาถึงในสมัยพุทธกาลนี้ ท่านเกิดในตระกูลเศรษฐี มีชื่อว่า โชติกะ ในวันที่ท่านเกิด สรรพาวุธทั่วทั้งเมืองเกิดแสงสว่างโชติช่วง ทั่วทั้งเมืองสว่างไสวไปหมด เมื่อถึงวัยที่จะครองเรือน พระอินทร์ได้เสด็จมาจากเทวโลก เนรมิตปราสาท ๗ชั้น ที่ทำด้วยรัตนะทั้ง๗ มีกำแพง ๗ชั้น แวดล้อมปราสาทอย่างประณีตสวยงาม
การใช้ชีวิตแบบ Slow
ในช่วงวันหยุดที่ผ่านมา หลายๆ ท่านคงได้ใช้วันหยุดยาวกันตามใจชอบ ได้ทำในสิ่งที่ปรารถนาแบบสบายๆ ทั้งๆ ที่ในช่วงปีใหม่ที่ผ่านมาเราได้ใช้ชีวิตแบบเร่งรีบ ทำให้ถูกบีบคั้นทั้งร่างกายและจิตใจกันมาก
อานิสงส์ถวายหม้อน้ำหอม
เรารื่นรมย์อยู่ในเทวโลก ภพของเรา ๗ ชั้น สูงสุดน่าหวาดเสียว นางเทพกัญญา ๑ แสน แวดล้อมเราเสมอ ความป่วยไข้ไม่มีแก่เรา ความเศร้าโศกไม่มีแก่เรา เราไม่เห็นความเดือดร้อนเลย นี้เป็นผลของการถวายหม้อน้ำหอมเป็นพุทธบูชา
ไม่อยากเจอเธอ
ลูกจ้างก็มักจะได้ยินเสียงคล้ายเสียงฉีกกล่องกระดาษ อยู่ที่ชั้น 3 ของร้าน พอไปดูก็ไม่เห็นอะไร ทำเอาลูกจ้างต้องวิ่งแน๊บ ลงมาชั้นล่างแทบไม่ทันทุกท
กโปตกชาดก-ชาดกว่าด้วยความเป็นผู้มีใจโลเล
อันพระพุทธวัจนทั้งหมดทั้งสิ้นที่ผ่านความยาวนานของกาลเวลามากกว่า 2500 ปีนั้น มีพระธรรมคำสอนเพียงไม่กี่ข้อที่ผู้คนในโลกจำกันขึ้นใจ บุคคลพึงสำเร็จได้ด้วยความเพียรก็เป็นพระพุทธธรรมข้อหนึ่งที่เราจดจำนำไปปฏิบัติกันอย่างกว้างขวาง การปฏิบัติกิจใดโดยความเพียรก็ย่อมมีข้อขันติอดทน ไม่มีใจโลเลเป็นสิ่งนำสู่ความสำเร็จ
ความงดงามของพรหมภูมิ ตอนที่ 2 : ระดับชั้นของรูปพรหม
ในบรรดารูปพรหมทั้งหลายยังมีการแบ่งระดับชั้นตามภูมิที่อยู่ ซึ่งมีทั้งหมด 16 ชั้น มีหลักการแบ่งชั้น คือ แบ่งตามระดับความแก่อ่อนของกำลังฌาน
ยกเว้นค่าธรรมเนียม กดเอทีเอ็มข้ามเขต
ผู้บริหารธนาคารสมาชิกทุกแห่งได้เห็นความสำคัญของการบรรเทาความเดือดร้อนของผู้ประสบภัย จึงได้พร้อมใจกันยกเว้นค่าธรรมเนียมในการเบิก-ถอนเงินสดผ่านตู้ ATM ข้ามเขต โดยเริ่มตั้งแต่วันพรุ่งนี้ พรือ 4 พฤศจิกายน พ.ศ.2554 ไปจนถึงสิ้นเดือนนี้
ขึ้นชื่อว่า ความพร้อม นั้น ไม่เคยมี
ก่อนจัดงาน เราก็พิจารณาความพร้อมตามหลักพุทธวิธี ซึ่งในบรรดาสัปปายะทั้งสี่ ถ้าเรามีความพร้อมสัก 51% เราก็ตัดสินใจเดินหน้าไปหาความพร้อมอีก 49%เอาข้างหน้า ซึ่งในที่สุด เราก็จะพร้อมพอดีๆ ไม่เหลือไม่ขาด หวุดหวิดๆ ทุกครั้งไป แต่ถ้าเราคิดว่า เรายังจัดไม่ได้ เพราะว่าความพร้อมของเรายังไม่ครบ 100% เราก็คงต้องรอความพร้อมตลอดไป งานก็จะไม่เดิน