มีลูกสาวไม่รักนวลสงวนตัว
คำถาม : มีลูกสาวไม่รักนวลสงวนตัวเตือนก็ไม่เชื่อฟังกลุ้มใจมาก ควรวางใจอย่างไรให้ทุกข์ใจน้อยลงค่ะ
จดหมายจากพระกัลยาณมิตร
สิ่งที่พวกเราชอบเป็นพิเศษสุดสุดเลยก็คือ การฟังธรรมบรรยายจาก พระเดชพระคุณพระภาวนาวิริยะคุณ ซึ่งท่านได้เมตตาให้หลักการในเรื่องจิตวิทยาการสอนพระพุทธศาสนา พระเดชพระคุณหลวงพ่อครับ...ตั้งแต่กระผมบวชมา ๑๓พรรษา ยังไม่เคยได้ยินใครพูดว่า “การสร้างบารมีจะต้องเอาชีวิตเป็นเดิมพัน”
อยากบอกคนที่นั่งสมาธิแล้วยังไม่เห็น
ลูกก็ทำตามที่พระอาจารย์นำนั่งสมาธิไปอย่างสบายๆ ไม่ได้คิดอะไรอื่นเลย ทันใดก็เกิดแสงสว่าง เหมือนดวงอาทิตย์ จากนั้นก็เหมือนมีท่ออยู่ในท้องยาวพอสมควร เป็นท่อแก้วใสๆ รอรับดวงอาทิตย์อยู่ ดวงอาทิตย์ก็เลื่อนลงไปในท่อนั้น จนถึงก้นท่อ มีแสงพุ่งสวนขึ้นมารองรับดวงอาทิตย์ พอดีพระอาจารย์กล่าวสัพเพฯ
เส้นทางจอมปราชญ์ (๕)
บุคคลเชื่อธรรมของพระอรหันต์ทั้งหลาย เพื่อบรรลุนิพพาน เป็นผู้ไม่ประมาท มีปัญญาเป็นเครื่องสอดส่อง ฟังอยู่ด้วยดี ย่อมได้ปัญญา บุคคลผู้มีธุระ กระทำสมควร มีความหมั่นย่อมหาทรัพย์ได้ บุคคลย่อมได้ชื่อเสียงด้วยสัจจะ ผู้ให้ย่อมผูกมิตรไว้ได้ ผู้ใดมีศรัทธาอยู่ครองเรือน มีธรรม ๔ ประการนี้ คือ สัจจะ ธรรมะ ธิติ จาคะ ผู้นั้นแล ละจากโลกนี้ไปแล้วย่อมไม่เศร้าโศก
ปรโลกนิวส์ คุณแม่เทียมจิตละโลกแล้วไปไหน ตอนที่ 2
ในพุทธันดรที่ผ่านมานั้น ตัวลูกก็ได้เกิดมาสร้างบารมีร่วมกับมหาปูชนียาจารย์ และหมู่คณะด้วยเหมือนกัน ด้วยการไปสมัครเข้ารับราชการเป็นทหารของพระราชาองค์ที่ออกบวช
The Sight of a True Monk#2
Associate with him: find as much opportunities as possible to visit the true monk to learn the knowledge of Dhamma from the true monk
อานิสงส์ต้อนรับดี
ถ้าวิญญูชนเข้าไปนั่งใกล้บัณฑิตแม้เพียงครู่เดียว เขาย่อมรู้แจ้งธรรมได้ฉับพลัน เหมือนลิ้นที่รู้รสแกงฉะนั้น
Listening Regularly to Dhamma Teachings # 1
Listening regularly to the Dhamma teachings means to seek out opportunities to hear Buddhist teachings.
Listening Regularly to Dhamma Teachings # 2
Do not think that the monk is young, you are older than the monk and you have listened to the sermons of senior well-known monks many times
บุญไม่มีขายอยากได้ต้องทำเอง
พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ตรัสพระคาถาว่า “ปุญฺญญฺ เจ ปุริโส กยิรา กยิราเถนํ ปุนปฺปุนํ ตมฺหิ ฉนฺทํ กยิราถ สุโข ปุญฺญสฺส อุจฺจโย” แปลความว่า ถ้าบุรุษพึงทำบุญไซร้, พึงทำบุญนั้นบ่อยๆ พึงทำความพอใจในบุญนั้น, เพราะว่าความสั่งสมบุญทำให้เกิดสุข.