ยายของลูกทำกรรมใดไว้ จึงต้องป่วยด้วยโรคมากมาย
คุณตาเป็นลูกคุณพระสมัยรัชกาลที่ ๖ มีฐานะดีมาก ท่านชอบยิงนกตกปลาตั้งแต่วัยหนุ่มเมื่อ แต่งงานกับคุณยาย ท่านมีความสุขกันมาก แต่ความสุขนั้นมีระยะเวลาสั้นนักเนื่องจากคุณตาได้ล้มป่วยลงอย่างกะทันหันด้วยวัณโรค และเสียชีวิตด้วยวัยเพียง ๒๕ ปี
หัวใจ 3 ห้อง
ลูกชายของเธอ เกิดมามีหัวใจเพียง 3 ห้อง เมื่อโตขึ้นก็เป็นโรคเกี่ยวกับหัวใจหลายโรค และเสียชีวิตเมื่อมีอายุเพียง 23ปี …ลูกสาวของเธอ เป็นออทิสติค แต่กลับมีหน้าตาสวยเหมือนคนปกติ ตอนเด็กๆแม้แต่หมอตรวจแล้วยังไม่ทราบ จนโตเกินกว่าที่จะแก้ไข …อะไรคือสาเหตุที่แท้จริงของเรื่องราวเหล่านี้ …
หัวใจ 101 (เกินร้อย)
นักสร้างบารมีของหมู่คณะยุคบุกเบิก...เธอมีโอกาสได้พบพระเดชพระคุณหลวงปู่ฯ และได้ตามมาสร้างบารมีกับคุณยายอาจารย์ของพวกเรา ตั้งแต่สมัยเริ่มสร้างวัดพระธรรมกาย ต่อเนื่องเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน....ในชีวิตของการสร้างบารมี เธอเคยประสบกับเหตุการณ์เฉียดตายหลายครั้ง แต่ก็ปลอดภัยมาได้ด้วยบารมีของพระเดชพระคุณหลวงปู่ พระมงคลเทพมุนี สด จนฺทสโร ผู้ค้นพบวิชชาธรรมกาย
อีตาคนนี้แปล๊กแปลก
เชื่อหรือไม่...เพียงคำพูดประชดประชัน ก็มีผลต่อชีวิตในภายภาคหน้า...สามี-ภรรยาคู่หนึ่ง ในงานวันหมั้น ภรรยาต้องเสียหน้า เพราะคู่หมั้น (สามี) ไม่ได้มาร่วมงาน เหตุจากคำพูดประชดประชันกันในอดีตชาติ...สามี-ภรรยาอีกคู่หนึ่ง...แต่งงานอยู่ร่วมกัน โดยไม่ได้มีความสัมพันธ์กันแบบสามี-ภรรยาทั่วๆไป อีกทั้งสามีของเธอยังเป็นคนแปลกๆอีกด้วย...ทุกเรื่องราวล้วนมีเหตุ...เหตุคืออะไร...ที่นี่...มีคำตอบ
โครงการพระไตรปิฎก วัดพระธรรมกาย
วัดพระธรรมกายได้จัดตั้งโครงการพระไตรปิฎกขึ้นในปี พ.ศ.2553 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่ออนุรักษ์ รักษา รวบรวม ถ่ายภาพคัมภีร์ใบลาน และจัดทำฐานข้อมูลพระไตรปิฎก เพื่อการศึกษาค้นคว้า สำหรับผู้สนใจทั่วไป ทั้งรูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์และดิจิทัล
บวชสามเณรลูกแก้ว รักษาประเพณีชาวพุทธ
หลังจากที่เมื่อวานนี้คุณครูไม่ใหญ่ ประกาศโครงการประกวดสามเณรเทศนาธรรมรุ่นเนื้อนาบุญแสนรูปของโลกกับกติกาแสนง่าย ให้ทุกศูนย์ดูแล รักษา สามเณรน้อยเนื้อนาบุญให้อยู่ครบทุกรูปจนถึงวันตักบาตรพระภิกษุ-สามเณรแสนรูป ในวันที่ 24 เมษายน 2559 ที่จังหวัดอุบลราชธานี
กาแฟลดเสี่ยงเบาหวาน-หัวใจ?
ทำไมจึงเป็นคนนอนหลับยาก
เพราะเหตุใด ลูกจึงปวดหัวบ่อย และเป็นคนนอนหลับยาก ในขณะเดียวกันก็ต้องการนอนหลับพักผ่อนมากกว่าคนทั่วไป จะแก้ไขได้อย่างไร
สุขภาพกับธรรมชาติ
ยิ่งใกล้ชิดธรรมชาติ สุขภาพเรายิ่งดีมากขึ้น สุขภาพกับธรรมชาติเป็นของคู่กันหรือไม่