วัดพุทธบอร์คโด จัดปฏิบัติธรรมบ้านกัลยาณมิตร
พระอาจารย์จากวัดพุทธบอร์คโด ประเทศฝรั่งเศส ได้จัดปฏิบัติธรรมบ้านกัลยาณมิตร ณ เมือง ลา เทศเตอะ เดอ บุ้ค (La Teste de Buch) ประเทศฝรั่งเศส
โอวาทจากคุณครูไม่ใหญ่เรื่องเตรียม กาย วาจา ใจ ให้พร้อมก่อนเดินธุดงค์ฯ
เส้นทางมหาปูชนียาจารย์ ไม่ใช่เรื่องที่จะเกิดขึ้นง่ายๆ ใครได้เดินในเส้นทางนี้ก็ดี หรือได้มีส่วนร่วมสนับสนุนถวายกำลังใจแด่พุทธบุตรเนื้อนาบุญนี้ก็ดี ล้วนเป็นผู้มีบารมีแก่ๆทั้งสิ้น พอเขาเห็นความสงบเสงี่ยมสง่างามทั้งพระทั้งโยม
เรื่องของกาม
"กาม" คืออะไร ศิลปะ การคำนวณ การค้าขาย ฯลฯ เกิดเพราะเหตุแห่งกาม...
ทาสแห่งความสวยงาม
มาร Mara - แปลว่า "ตาย" มารจึงแปลว่า "ผู้ให้ตาย" ในความหมายตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ให้ความหมายว่า มารเป็นเทวดาจำพวกหนึ่งมีใจบาปหยาบช้าคอยกีดกันไม่ให้ทำบุญ
ทศชาติชาดก เรื่องเนมิราช ผู้ยิ่งด้วยอธิษฐานบารมี ตอนที่ 9
ในตอนนี้จะกล่าวถึง มาตลีเทพบุตรได้อธิบายเหตุที่สัตว์นรกต้องโดนทุกทรมานในขุมนรก เช่น ในอดีตตอนที่เป็นมนุษย์ ได้เรี่ยไรทรัพย์ของคนอื่นโดย อ้างว่าจะนำไปทำบุญทำทานสร้างวิหารเป็นต้น แต่กลับนำทรัพย์นั้นไปใช้จ่ายตามความพอใจ ไม่ได้ทำบุญดังที่กล่าวไว้ ตายไปตกอังคารกาสุนรก (อัง-คา-ระ-กา-สุ-นะ-รก) อุสสุทนรกขุมที่ ๔ ซึ่งเป็นนรกที่มีนายนิรยบาลกำลังเอาอาวุธมีหอก ดาบ ค้อนเหล็กเป็นต้นที่ไฟกรดลามเลียอยู่ทิ่มแทงสัตว์นรก ไล่ตีสัตว์นรกให้ตกไปในหลุมถ่านเพลิง
อย่าหลอกกันดีกว่า
จงมาดูดัตภาพอันวิจิตร มีกายเป็นแผล อันคุมกันอยู่แล้วกระสับกระส่าย เป็นที่ดำริของชนเป็นอันมาก ไม่มีความยั่งยืนมั่นคง
ผู้ขัดขวางการสร้างบารมี
ชนเหล่าใด จักสำรวมจิต ที่ท่องไปในที่ไกลๆ เที่ยวไปดวงเดียว ไม่มีสรีระ มีถ้ำเป็นที่อาศัย ชนเหล่านั้น จะพ้นจากเครื่องผูกแห่งมาร
9 ภาษาสากล สื่อสารความดีกับเด็กดีวีสตาร์ (V-Star Change the World)
เมื่อเหล่าเด็กดีวีสตาร์กำลังจะเปลี่ยนโลก พลิกโลก ให้โลกใบนี้หวลคืนมาเป็นโลกที่สว่างไสวไปด้วยศีลธรรม พวกเราเหล่าผู้ใหญ่ใจดีจึงจำเป็นต้องฝึกภาษาไปด้วย เพื่อใช้ในการสื่อสารความดีกับเหล่า V-Star ทั่วโลก เหมาะสมกับการเป็น V-Star Change the World อย่างแท้จริง
ทำไมบนสวรรค์จึงมีทั้งเทวดาและมาร
เทวดายังมีชั้น จึงไม่แปลกที่มนุษย์มีการแบ่งชนชั้นวรรณะ ต้องไปแก้ที่เทวดาก่อน ถ้าแก้เทวดาไม่ตก มนุษย์ก็ยังมีชนชั้น ที่เทวดามีชั้นเพราะมีความละอายและเกรงกลัวต่อบาปไม่เท่ากัน
เทพบุตรมาร (๒)
รูปที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ เสียงที่จะพึงรู้แจ้งด้วยหู กลิ่นที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจมูก รสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยลิ้น สัมผัสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยกาย ธรรมารมณ์ที่จะพึงรู้แจ้งด้วยใจ อันน่ารักน่าปรารถนาน่าใคร่ น่าพอใจ อาศัยความใคร่ ชวนให้กำหนัดมีอยู่ หากภิกษุไม่เพลิดเพลิน ไม่สรรเสริญ ไม่หมกมุ่น ไม่พัวพันอยู่ในรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสและธรรมารมณ์ ภิกษุนี้เรากล่าวว่า ไม่ไปสู่ที่อยู่ของมาร ไม่ตกอยู่ในอำนาจของมาร ไม่ถูกมารครอบงำ เป็นผู้พ้นจากบ่วงมาร ภิกษุนั้น มารผู้มีบาปพึงใช้บ่วง ทำตามความปรารถนาไม่ได้