อภินิหารของการทำโยคะ-สมาธิ บังคับยีนให้รวมหัวกันต้านเครียด
คิดผิดคิดใหม่ได้ (๓)
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย กาล ๔ อย่างที่บุคคลบำเพ็ญโดยชอบ ให้เป็นไปโดยชอบ ย่อมให้ถึงความสิ้นอาสวะโดยลำดับ กาล ๔ นี้คือ การฟังธรรมตามกาล การสนทนาตามกาล การสงบตามกาล และการพิจารณาตามกาล กาล ๔ อย่างนี้ อันบุคคลบำเพ็ญโดยชอบ ให้เป็นไปโดยชอบ ย่อมให้ถึงความสิ้นอาสวะโดยลำดับ
สมาธิ ไม่ใช่การเปลี่ยนศาสนา
ตลอดเวลา 3วันที่เราเข้ามานั่งสมาธิ เราไม่ต้องทำอะไรเลย มีความเป็นอยู่ราวกับสวรรค์ กินๆ นั่งๆ นอนๆ ผมชอบมากครับ โดยเฉพาะเวลานั่งสมาธิ พระอาจารย์สอนให้ หายใจให้สุดที่กลางท้อง แล้วปล่อยความรู้สึกไว้ตรงนั้น เมื่อผมทำใจเฉยๆ ใจก็ว่างขึ้นมาเองอย่างช้าๆ จนความว่างเพิ่มปริมาณออกไปจนสุดขอบฟ้า แล้วตรงกลางท้องก็มีประกายแสงสว่างเกิดขึ้นมาเอง
ศีล..ทางมาแห่งรูปสมบัติ
ศีลเป็นบ่อเกิดแห่งความสงบ ความดีงาม เนื่องจากศีลเป็นคุณธรรมที่ช่วยรักษา กาย วาจาให้เป็นระเบียบเรียบร้อย การรักษาศีลให้บริสุทธิ์จะทำให้ใจสงบ ปลอดกังวล ช่วยให้สามารถบรรลุธรรมได้โดยง่าย
ทำไมบนสวรรค์จึงมีทั้งเทวดาและมาร
เทวดายังมีชั้น จึงไม่แปลกที่มนุษย์มีการแบ่งชนชั้นวรรณะ ต้องไปแก้ที่เทวดาก่อน ถ้าแก้เทวดาไม่ตก มนุษย์ก็ยังมีชนชั้น ที่เทวดามีชั้นเพราะมีความละอายและเกรงกลัวต่อบาปไม่เท่ากัน
บุญยิ่งใหญ่ที่ทำเองได้ง่ายๆ
แม้จะปลื้มใจกับบุญที่ได้ชักชวนผู้อื่นทำ อย่างไรเสียก็สู้บุญที่เราทำด้วยตัวเองไม่ได้ ความรู้สึกในใจบอกลูกอย่างนั้น แต่คนจนอย่างลูกจะไปเอาทรัพย์ที่ไหนมาทำบุญได้มากๆ พอคิดเช่นนี้ คำพูดของพระอาจารย์รูปหนึ่ง ที่ลูกเคยฟังธรรมจากท่าน ก็ดังขึ้นในใจ “บุญยิ่งใหญ่ที่ทำเองได้ง่ายๆ โดยไม่ต้องใช้ทรัพย์ก็มีอยู่นะ สมาธิ...ไงล่ะ” คำพูดนั้นเคยเป็นจุดเริ่มต้น ทำให้ลูกสนใจเริ่มหัดนั่งสมาธิ
มงคลที่ ๗ เป็นพหูสูต - สั่งสมปัญญาบารมี
ความรู้ในพระไตรปิฎกนั้น ยิ่งศึกษายิ่งแตกฉาน ทำให้เราเข้าใจและรู้หนทางไปสู่อายตนนิพพานเพิ่มมากขึ้น เสมือนได้นั่งอยู่เบื้องพระพักตร์ของพระบรมศาสดา กาย วาจา ใจ ของเราจะบริสุทธิ์เกลี้ยงเกลาตามพระองค์ไปด้วย ในตอนนี้จะได้อธิบายเกี่ยวกับหมวดพุทธวจนะ ในพระไตรปิฎก
เทพบุตรมาร (๒)
รูปที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ เสียงที่จะพึงรู้แจ้งด้วยหู กลิ่นที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจมูก รสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยลิ้น สัมผัสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยกาย ธรรมารมณ์ที่จะพึงรู้แจ้งด้วยใจ อันน่ารักน่าปรารถนาน่าใคร่ น่าพอใจ อาศัยความใคร่ ชวนให้กำหนัดมีอยู่ หากภิกษุไม่เพลิดเพลิน ไม่สรรเสริญ ไม่หมกมุ่น ไม่พัวพันอยู่ในรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสและธรรมารมณ์ ภิกษุนี้เรากล่าวว่า ไม่ไปสู่ที่อยู่ของมาร ไม่ตกอยู่ในอำนาจของมาร ไม่ถูกมารครอบงำ เป็นผู้พ้นจากบ่วงมาร ภิกษุนั้น มารผู้มีบาปพึงใช้บ่วง ทำตามความปรารถนาไม่ได้
พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 37 ต้นมหาโพธิพฤกษ์
ต้นมหาโพธิพฤกษ์ หรือต้นไม้ตรัสรู้ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าแต่ละพระองค์นั้น จะมีความแตกต่างกันไปตามแต่ละยุคสมัย
พศ.ใช้เทคโนฯพัฒนางานพุทธศาสนา ยกเครื่องฐานจัดเก็บข้อมูลพระสงฆ์-วัดทั่วประเทศ