มงคลที่ ๑๖ ประพฤติธรรม - ชีวิตเหลือน้อยนิด อย่าคิดเรื่องไร้สาระ
ดวงบุญนี้เป็นต้นเหตุแห่งความสุขและความสำเร็จ เมื่อเราปรารถนาสิ่งใด ให้อธิษฐานจิตในกลางดวงบุญนั้น ซึ่งเป็นทางมาแห่งมหาสมบัติทั้งหลาย ทั้งรูปสมบัติ ทรัพย์สมบัติ คุณสมบัติ ลาภ ยศ สรรเสริญ สุข มรรคผลนิพพาน ซ้อนอยู่ในกลางดวงบุญนั้น บางคนสายสมบัติโต บางคนเล็ก บางคนก็ริบหรี่ ตามแต่กำลังบุญที่ได้สั่งสมมา ดวงบุญนี้จะดึงดูดสมบัติหยาบในเมืองมนุษย์ ให้เราได้ใช้สร้างบารมีอย่างไม่รู้จักหมดสิ้น เมื่อปรารถนาในสิ่งที่ดี ย่อมจะสมปรารถนาได้ ดังนั้น เราจึงต้องสั่งสมบุญกันให้มากๆ อย่าให้ขาดแม้แต่วันเดียว
มาร ๕ ฝูง
ประทีปที่ส่องแสง ถ้ามีแสงน้อย ย่อมดับไปด้วยลมได้ เหมือนเถาวัลย์ที่เหี่ยวแห้งไป ฉันใด ท่านก็จงเป็นผู้ไม่ถือมั่น แล้วกำจัดมาร ผู้มีโคตรเสมอด้วยพระอินทร์ฉันนั้นเถิด เมื่อท่านกำจัดมารได้อย่างนี้แล้ว เป็นผู้ปราศจากความกำหนัดพอใจในเวทนาทั้งหลาย จะเป็นผู้มีความเย็น รอคอยเวลานิพพานในอัตภาพนี้ทีเดียว
มงคลที่ ๒๖ ฟังธรรมตลอดกาล - นางยักษิณี ผู้ใคร่ในธรรม
นางยักษิณีตนหนึ่ง ได้อุ้มอุตราผู้เป็นธิดา และจูงปุนัพพสุผู้เป็นลูกชายแสวงหาอาหารริมกำแพง และริมคูคลองหลังวัดพระเชตวัน เมื่อไปถึงซุ้มประตู นางก็เห็นพุทธบริษัทสงบนิ่งไม่ไหวติง ฟังธรรมด้วยความเคารพในพระพุทธเจ้า เหมือนเปลวประทีปตั้งไว้ในที่ที่ไม่มีลม จึงเกิดความเลื่อมใสแล้วคิดว่า ก็ในที่นี้คงจะมีของแจกให้เรากิน เพื่อประทังชีวิตได้แน่
หัวใจวายมรณภาพ กรรมใช้แรงงานนักโทษหนักปางตาย
ใครทำกรรมใดไว้ ตนจักต้องได้รับผลของกรรมนั้น นี้คือความเป็นจริงของชีวิต
อานิสงส์สร้างพระคันธกุฎี
ท่านเทพบุตร วิมานของท่านดูงดงามเหลือเกิน เต็มไปด้วยข่ายแก้วสีทองสุกปลั่ง รุ่งเรืองดุจรัศมีแห่งพระอาทิตย์ยามเที่ยงวัน เราอยากจะถามท่านว่า นี้เป็นผลแห่งกรรมอะไร ...นี้เป็นผลกรรมที่ได้สร้างพระคันธกุฎีและถวายดอกไม้หอมแด่พระสัมมาสัมพุทธเจ้า
แก้วมณีไม่มีหมอง
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย หากคนพวกอื่นจะพึงกล่าวติเรา ติพระธรรม ติพระสงฆ์ก็ตาม เธอทั้งหลายไม่ควรอาฆาต ไม่ควรโทมนัสน้อยใจ ไม่ควรแค้นใจในคนเหล่านั้น
พุทธศาสนา ‘บูม’ ในรัสเซีย ชี้คำสอนพิสูจน์ได้จริง-เตรียมแปลพระไตรปิฎกรองรับ
เทคโนโลยีเพื่อสุขภาพ : สร้าง "อวัยวะภายใน" ตามใบสั่ง
“อุดม แต้พานิช” ออก เดี่ยวไมโครโฟน 40 รอบ
สิ่งที่บรรพบุรุษรอคอย
ความวิบัติอันเป็นโทษทางกาย ๓ ประการคือ การฆ่า การลัก การประพฤติผิดในกาม และโทษทางวาจา ๔ ประการคือ พูดโกหก หยาบคาย ส่อเสียด เพ้อเจ้อ และโทษทางใจ ๓ ประการคือ อภิชฌา พยาบาท มิจฉาทิฏฐิ ย่อมมีวิบากเป็นทุกข์