บุพกรรมของพระพุทธเจ้าตอนที่ ๓
หมู่สัตว์ที่มาเกิดแล้วจำจะต้องตายในโลกนี้ ย่อมทำกรรมอันใดไว้ คือบุญและบาปทั้งสองประการ บุญและบาปนั้นแล เป็นสมบัติของเขา และเขาจะพาเอาบุญและบาปนั้นไป อนึ่ง บุญและบาปนั้นย่อมเป็นของติดตามเขาไปประดุจเงาติดตามตัวไปฉะนั้น เพราะฉะนั้น บุคคลพึงทำกัลยาณกรรม สะสมไว้เป็นสมบัติในปรโลก ด้วยว่า บุญทั้งหลายย่อมเป็นที่พึ่งของสัตว์ทั้งหลายในปรโลก
มาร ๕ ฝูง
ประทีปที่ส่องแสง ถ้ามีแสงน้อย ย่อมดับไปด้วยลมได้ เหมือนเถาวัลย์ที่เหี่ยวแห้งไป ฉันใด ท่านก็จงเป็นผู้ไม่ถือมั่น แล้วกำจัดมาร ผู้มีโคตรเสมอด้วยพระอินทร์ฉันนั้นเถิด เมื่อท่านกำจัดมารได้อย่างนี้แล้ว เป็นผู้ปราศจากความกำหนัดพอใจในเวทนาทั้งหลาย จะเป็นผู้มีความเย็น รอคอยเวลานิพพานในอัตภาพนี้ทีเดียว
วินัยทางโลกกับวินัยทางธรรมแตกต่างกันอย่างไร
คำถาม : วินัยทางโลกกับวินัยทางธรรมแตกต่างกันอย่างไร แล้วเราควรจะฝึกตนให้เป็นผู้มีวินัยอย่างไรครับ?
การอธิษฐานที่ถูกต้องทำให้เป็นนิสัย-วงจรชีวิต
การอธิษฐาน คือ การวางแผนการใช้บุญข้ามชาติ ว่าจะเอาบุญไปใช้อะไร ให้ส่งผลตามทิศทางที่เราอธิษฐานตั้งความปรารถนาเอาไว้
ขอเชิญร่วมจัดพิมพ์สมุดภาพครบรอบ 10 ปี ศูนย์สมาธิฯ จอร์แดน-ไทย
ขอเชิญร่วมจัดพิมพ์สมุดภาพครบรอบ 10 ปี ศูนย์สมาธิฯ จอร์แดน-ไทย "Gift from Happiness " หนังสือแห่งเส้นทางสันติภาพในแผ่นดินศักดิ์สิทธิ์ของตะวันออกกลาง ที่คัดสรรโอวาทการปฏิบัติสมาธิ เพื่อการเข้าถึงสันติสุขภายใน เนื่องในวาระครบรอบ 10 ปีศูนย์สมาธิจอร์แดน - ไทย ฯ
สามีไม่ชอบวัด
เคยด่าว่าพระ แต่ก่อนตายกลับตัวกลับใจได้ ตายแล้วไปไหน, บุพกรรมใดทำให้ถูกขัดขวางในการสร้างความดีสร้างบารมี
ปรโลกนิวส์ ตอน ฆ่าตัวตาย เพราะปากร้ายทวงหนี้ในอดีต ตอนจบ
ต่อจากตอนที่แล้ว...พระธรรมกายได้เมตตานำตัวลูกชายของลูกออกจากยมโลกของมหานรกขุมที่ 1 ไปบังเกิดเป็น “เทพบุตรสุดหล่อ” อยู่ที่สวรรค์ชั้นดาวดึงส์เฟส 2 นั้น พระธรรมกายก็ได้ไปปรากฏกายอยู่ที่สวรรค์ชั้นดาวดึงส์เฟส 2 ด้วย
ทุกข์เพราะกาม
“กาม” เป็นต้นเหตุสำคัญที่ก่อให้เกิดความหิวกระหายในใจของเรา ความอยากในกามได้คอยครอบงำ และบงการชีวิตเรา ให้เรารู้สึกไม่พอใจในสิ่งที่เรามี
สิ่งที่บรรพบุรุษรอคอย
ความวิบัติอันเป็นโทษทางกาย ๓ ประการคือ การฆ่า การลัก การประพฤติผิดในกาม และโทษทางวาจา ๔ ประการคือ พูดโกหก หยาบคาย ส่อเสียด เพ้อเจ้อ และโทษทางใจ ๓ ประการคือ อภิชฌา พยาบาท มิจฉาทิฏฐิ ย่อมมีวิบากเป็นทุกข์
เฮือกสุดท้ายของชีวิต (๒)
นรชนผู้มีอันจะต้องตายเป็นสภาพ ระลึกถึงความดีที่ตนได้ทำแล้วนี้ ย่อมตั้งอยู่ในอริยธรรมในปัจจุบันนี้เอง บัณฑิตทั้งหลายย่อมสรรเสริญนรชนนั้น นรชนนั้นละโลกนี้ไปแล้ว ย่อมบันเทิงในสุคติโลกสวรรค์