สังคหวัตถุ-4-หลักการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ
ท่านทั้งหลายทราบหรือไม่ว่า การที่เรามาอยู่ร่วมกันในสังคมนั้นต้องปฏิบัติตนอย่างไร จึงจะอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ท่านทรงได้ให้หลักธรรมในการดำเนินชีวิตในสังคมอย่างเป็นสุขคือ สังคหวัตถุ 4 ซึ่งประกอบด้วยหลักธรรม 4 ข้อ ได้แก่ ทาน ปิยวาจา อัตถจริยา และ สมานัตตา โดยมีรายละเอียดแต่ละข้อดังนี้
กฐินทาน กาลทานที่มีผลานิสงส์มาก
คำสอนในพระพุทธศาสนากล่าวว่า “ทาน” หรือ “การให้” เป็นความดีที่เป็นสัมมาทิฐิเบื้องต้นของมนุษย์ทุกคน เพราะทั้งการให้ การแบ่งปัน หรือการสงเคราะห์ ล้วนเป็นคุณธรรมที่เกื้อกูลกันระหว่างชีวิตต่อชีวิต เป็นพื้นฐานความดีที่จะช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตให้มีความเจริญก้าวหน้าต่อไป ดังเช่น พระสัมมาสัมพุทธเจ้าในครั้งยังสร้างบารมี กว่าพระองค์จะทรงประสบความสำเร็จขั้นสูงสุดในชีวิต คือการตรัสรู้ธรรม พระองค์ก็ทรงอาศัยการทำทานเป็นจุดเริ่มต้นของการสั่งสมความดี
บุกห้องทำงาน ซิคเว่ เบรคเก้ เมื่อ "งาน" กับ "พักผ่อน" กลายเป็นเรื่องเดียวกัน
อย่าหลอกกันดีกว่า
จงมาดูดัตภาพอันวิจิตร มีกายเป็นแผล อันคุมกันอยู่แล้วกระสับกระส่าย เป็นที่ดำริของชนเป็นอันมาก ไม่มีความยั่งยืนมั่นคง
ผู้ขัดขวางการสร้างบารมี
ชนเหล่าใด จักสำรวมจิต ที่ท่องไปในที่ไกลๆ เที่ยวไปดวงเดียว ไม่มีสรีระ มีถ้ำเป็นที่อาศัย ชนเหล่านั้น จะพ้นจากเครื่องผูกแห่งมาร
แพทย์เตือนภัยติดตั้งถังแก๊สในรถเหมือนพกระเบิด3พันปอนด์
คิดผิดคิดใหม่ได้ (๓)
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย กาล ๔ อย่างที่บุคคลบำเพ็ญโดยชอบ ให้เป็นไปโดยชอบ ย่อมให้ถึงความสิ้นอาสวะโดยลำดับ กาล ๔ นี้คือ การฟังธรรมตามกาล การสนทนาตามกาล การสงบตามกาล และการพิจารณาตามกาล กาล ๔ อย่างนี้ อันบุคคลบำเพ็ญโดยชอบ ให้เป็นไปโดยชอบ ย่อมให้ถึงความสิ้นอาสวะโดยลำดับ
ทำไมบนสวรรค์จึงมีทั้งเทวดาและมาร
เทวดายังมีชั้น จึงไม่แปลกที่มนุษย์มีการแบ่งชนชั้นวรรณะ ต้องไปแก้ที่เทวดาก่อน ถ้าแก้เทวดาไม่ตก มนุษย์ก็ยังมีชนชั้น ที่เทวดามีชั้นเพราะมีความละอายและเกรงกลัวต่อบาปไม่เท่ากัน
เทพบุตรมาร (๒)
รูปที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ เสียงที่จะพึงรู้แจ้งด้วยหู กลิ่นที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจมูก รสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยลิ้น สัมผัสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยกาย ธรรมารมณ์ที่จะพึงรู้แจ้งด้วยใจ อันน่ารักน่าปรารถนาน่าใคร่ น่าพอใจ อาศัยความใคร่ ชวนให้กำหนัดมีอยู่ หากภิกษุไม่เพลิดเพลิน ไม่สรรเสริญ ไม่หมกมุ่น ไม่พัวพันอยู่ในรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสและธรรมารมณ์ ภิกษุนี้เรากล่าวว่า ไม่ไปสู่ที่อยู่ของมาร ไม่ตกอยู่ในอำนาจของมาร ไม่ถูกมารครอบงำ เป็นผู้พ้นจากบ่วงมาร ภิกษุนั้น มารผู้มีบาปพึงใช้บ่วง ทำตามความปรารถนาไม่ได้
คาถากันยักษ์ ตอนที่ ๓
ขอนอบน้อมแด่พระวิปัสสีพุทธเจ้า ผู้มีพระจักษุ มีพระสิริ ขอนอบน้อมแด่พระสิขีพุทธเจ้า ผู้ทรงอนุเคราะห์แก่สัตว์ทั่วหน้า ขอนอบน้อมแด่พระเวสสภูพุทธเจ้า ผู้ชำระกิเลส มีความเพียร ขอนอบน้อมแด่พระกกุสันธพุทธเจ้า ผู้ทรงย่ำยีมารและเสนามาร ขอนอบน้อมแด่พระโกนาคมนพุทธเจ้า ผู้มีบาปอันลอยแล้ว อยู่จบพรหมจรรย์