โครงการบรรพชาสามเณรภาคฤดูร้อน จ.เลย ตอน ที่มาของความสำเร็จ
นักเรียนชั้น ป.4 ถึง ม.3 ทั่วประเทศ เข้าร่วมอบรมในโครงการบรรพชาสามเณรภาคฤดูร้อน ซึ่งจัดให้มีการอบรมในศูนย์อบรมทั่วประเทศพร้อมกัน ตั้งแต่วันที่ 8-29 เมษายน พ.ศ.2556
ธุดงคสถานล้านนา จัดอบรมสามเณรแก้ว
ธุดงคสถานล้านนา จังหวัดเชียงใหม่ จัดอบรมสามเณรแก้ว ในช่วงปิดเทอมภาคฤดูร้อน
พิธีบรรพชาสามเณรภาคฤดูร้อน วัดพระธรรมกายบาวาเรีย และวัดพุทธมิลาน
พิธีบรรพชาสามเณรภาคฤดูร้อนประจำปี พ.ศ.2555 วัดพระธรรมกายบาวาเรีย ประเทศเยอรมนี และวัดพุทธมิลาน ประเทศอิตาลีระหว่างวันที่ 5-19 สิงหาคม พ.ศ.2555
จดหมายพระกัลยาณมิตร
โดยเฉพาะ พิธีหักดิบตัดใจจุดไฟเผาบุหรี่ นับได้ว่าได้ผลดีเป็นอย่างมาก บางรูปที่เคยติดบุหรี่ ได้กล้าหาญในการหักดิบเลิกตลอดชีวิต เพราะมองเห็นโทษภัยของบุหรี่ซึ่งมีมากมาย โดยไม่ต้องค่อยลด ค่อยละ กล้าปฏิญาณตนเลิกสูบบุหรี่ได้จำนวนหลายรูป นับได้ว่าเป็นกิจกรรมสำคัญส่งเสริมให้ทุกชีวิต ได้มีสุขภาพที่แข็งแรงและเป็นแบบอย่างที่ดีงามที่ทุกฝ่ายต้องส่งเสริม
ธรรมทายาทรุ่นแรก แห่งดินแดนพระอาทิตย์เที่ยงคืน
วัดพุทธมิดนัทซูล ประเทศนอรเวย์ จัดให้มีการบรรพาชาสามเณรธรรมทายาท ภาคฤดูร้อน ประจำปี 2549 เป็นครั้งแรก ซึ่งมีพี่น้องชาวกัมพูชาจำนวนมากมาร่วมพิธีในครั้งนี้ เรามาดูกันซิว่าภาพบรรยากาศการบวช ในดินแดนแห่งพระอาทิตย์ไม่ตกดิืน จะเป็นอย่างไร เมื่อสามเณรจะต้องอยู่กลดน้อยกลอยใจ ท่ามกลางแมกไม้ และแสงตะวันที่สาดส่องเกือบตลอดคืน
สามเณร คือ ใคร
สามเณร คือ นักบวชชายในพระพุทธศาสนาที่มีอายุน้อย ยังมิได้รับการอุปสมบทเป็นพระภิกษุ สามเณร แปลว่า เหล่ากอของสมณะ หน่อเนื้อของสมณะ ผู้ที่จะบวชเป็นสามเณร คือ ผู้สั่งสมบุญเก่ามาในอดีตไว้ดีแล้ว จึงได้มีโอกาสมาบวชฝึกฝนตนเอง
รับสมัครพนักงานขับรถรางรับส่งพระภิกษุ-สามเณร และสาธุชน
หากคุณเป็นชายมีใจอยากช่วยงานพระพุทธศาสนา ทำงานอยู่ในวัด ขอเชิญมาสมัครเป็นพนักงานขับรถราง เพื่อขับรถรางรับส่งพระภิกษุ-สามเณร และสาธุชนวัดพระธรรมกาย สุขใจได้ทั้งงานและบุญ
สามเณร 500 รูป ประเทศอินเดีย ร่วมพิธีจุดประทีป ถวายเป็นพุทธบูชา ในดินแดนพุทธภูมิ
อบรม Supervisor “ทางก้าวหน้า” ครั้งที่ 42
ชมรมพุทธศาสตร์สากล จัดอบรม Supervisor รอบ Final Course โครงการตอบปัญหาธรรมะ “ทางก้าวหน้า” ครั้งที่ 42 ประจำปี พ.ศ. 2567
การสนทนาระหว่างฆราวาสกับพระภิกษุ/สามเณร
การสนทนาระหว่างฆราวาสกับพระภิกษุ/สามเณร ๑. เวลาพระท่านพูด ควรตั้งใจฟังด้วยความเคารพ ไม่ควรขัดจังหวะหรือพูดแทรกขึ้นมาในระหว่างที่ท่านกำลังพูดอยู่ ๒. เวลาท่านให้โอวาทหรืออวยพร ควรประนมมือฟังด้วยความเคาพ ๓. เวลารับไตรสรณคมน์ และรับศีล ควรว่าตามด้วยเสียงที่ชัดเจน