DMC Satellite Dish Instruments
สวรรค์ชั้นยามา
ดูก่อนสารีบุตร ในการให้ทานนั้น บุคคลไม่มีหวังสิ่งตอบแทนในทาน แต่ก็ให้ทาน ไม่มีจิตผูกพันในผลแห่งทานแล้วให้ทาน ไม่มุ่งการสั่งสมให้ทาน ไม่ได้ให้ทานด้วยความคิดว่า การให้ทานเป็นการกระทำที่ดี แต่ให้ทานด้วยความคิดว่า บิดามารดา ปู่ ย่า ตา ยาย เคยให้ เคยทำมา เราก็ไม่ควรทำให้เสียประเพณี เขาผู้นั้นให้ทานด้วยอาการอย่างนี้แล้ว เมื่อทำกาลกิริยาตายไป ย่อมเข้าถึงความเป็นสหายแห่งเทวดาในสวรรค์ชั้นยามา
ทศชาติชาดก เรื่องเนมิราช ผู้ยิ่งด้วยอธิษฐานบารมี ตอนที่ 3
การทำอธิมุตกาลกิริยา (อะ-ธิ-มุต-ตะ-กา-ละ-กิ-ริ-ยา) คือการอธิษฐานจิตดับชีพของตนลงมาเกิดสร้างบารมีในโลกมนุษย์นี้ จะทำได้ก็เฉพาะพระโพธิสัตว์เจ้าทั้งหลายที่สถิตอยู่ในสวรรค์ชั้นดุสิตเท่า นั้น
มงคลที่ ๑๘ ทำงานไม่มีโทษ - คนกินเดนหรือคนกินซากศพ
ฤๅษีได้ยินนกพูดดังนั้น ต่างถามกันว่า ที่นกแขกเต้าพูดนั้น ชมเราหรือติพวกเรากันแน่ นกพูดขึ้นทันทีว่า เราไม่ได้กล่าวชมพวกท่านหรอก เพราะพวกท่านกินซากศพ ไม่ได้กินเดน ฤๅษีย้อนถามว่า พวกเราได้สละเรือน สละเพศฆราวาสออกบวช ไม่เคยไปเบียดเบียนใคร มีชีวิตอยู่ในป่าด้วยการอาศัยซากสัตว์ที่เสือเหลือง เสือโคร่งล่ามาแล้วทิ้งไว้ อาชีพของเราบริสุทธิ์ ท่านจะมาติเตียนเราได้อย่างไร
พศ.ใช้เทคโนฯพัฒนางานพุทธศาสนา ยกเครื่องฐานจัดเก็บข้อมูลพระสงฆ์-วัดทั่วประเทศ
พระสามารถใช้ยาฆ่าแมลงหรือโรยยาป้องกันแมลงมารบกวนได้หรือไม่
ตอนจะฆ่ายุง ถามว่าเราโกรธไหม โกรธ แถมบันดาลโทสะเข้าไปด้วย ตบยุงตายคาที่เลย พอยุงตาย เราก็กลายเป็นมารอีกตัวหนึ่งต่างหาก ฆ่ามารตัวเล็กไป แต่ได้มารตัวโตขึ้นมาแทน
สังคหวัตถุ-4-หลักการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ
ท่านทั้งหลายทราบหรือไม่ว่า การที่เรามาอยู่ร่วมกันในสังคมนั้นต้องปฏิบัติตนอย่างไร จึงจะอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ท่านทรงได้ให้หลักธรรมในการดำเนินชีวิตในสังคมอย่างเป็นสุขคือ สังคหวัตถุ 4 ซึ่งประกอบด้วยหลักธรรม 4 ข้อ ได้แก่ ทาน ปิยวาจา อัตถจริยา และ สมานัตตา โดยมีรายละเอียดแต่ละข้อดังนี้
ราชองครักษ์ชาตินักรบ ตอนที่ 15
จากความทุ่มเทและเสียสละของนายทหารราชองครักษ์หนุ่ม และลูกน้องทุกๆคนในกองทหารใต้บังคับบัญชาของเขา การช่วยเหลือชาวบ้านผู้ประสบภัยจากโคลนถล่มจึงสำเร็จลงได้ในที่สุด...ความประทับใจในครั้งนี้ จะตราตรึงอยู่ในความทรงจำของชาวบ้านทุกคนตลอดไป
กฐินทาน กาลทานที่มีผลานิสงส์มาก
คำสอนในพระพุทธศาสนากล่าวว่า “ทาน” หรือ “การให้” เป็นความดีที่เป็นสัมมาทิฐิเบื้องต้นของมนุษย์ทุกคน เพราะทั้งการให้ การแบ่งปัน หรือการสงเคราะห์ ล้วนเป็นคุณธรรมที่เกื้อกูลกันระหว่างชีวิตต่อชีวิต เป็นพื้นฐานความดีที่จะช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตให้มีความเจริญก้าวหน้าต่อไป ดังเช่น พระสัมมาสัมพุทธเจ้าในครั้งยังสร้างบารมี กว่าพระองค์จะทรงประสบความสำเร็จขั้นสูงสุดในชีวิต คือการตรัสรู้ธรรม พระองค์ก็ทรงอาศัยการทำทานเป็นจุดเริ่มต้นของการสั่งสมความดี
แก่ขึ้นอีกปีอย่างมีความสุข
อายุที่มาพร้อมกับความแก่ชรา เราจะมีวิธีรับมือกับร่างกายและใจอย่างไรให้มีความสุข