คิดผิดคิดใหม่ได้ (๓)
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย กาล ๔ อย่างที่บุคคลบำเพ็ญโดยชอบ ให้เป็นไปโดยชอบ ย่อมให้ถึงความสิ้นอาสวะโดยลำดับ กาล ๔ นี้คือ การฟังธรรมตามกาล การสนทนาตามกาล การสงบตามกาล และการพิจารณาตามกาล กาล ๔ อย่างนี้ อันบุคคลบำเพ็ญโดยชอบ ให้เป็นไปโดยชอบ ย่อมให้ถึงความสิ้นอาสวะโดยลำดับ
พุทธศาสนิกชนชาวพิจิตรร่วมสืบสานประเพณีข้าวต้มลูกโยน
พุทธศาสนิกชนชาวพิจิตร ร่วมทำบุญวันออกพรรษาด้วยการฟื้นฟูสืบสานประเพณีข้าวต้มลูกโยน ประเพณีเก่าแก่กว่า 100 ปี หนึ่งเดียวในประเทศ
ขอเชิญร่วมบุญจัดพิมพ์หนังสือ "ยิ่งหยุดยิ่งนิ่ง...ยิ่งดิ่งไม่หยุด เล่ม 3"
เรียนเชิญเจ้าภาพผู้มีบุญทุกท่าน ร่วมบุญจัดพิมพ์หนังสือ ยิ่งหยุดยิ่งนิ่ง...ยิ่งดิ่งไม่หยุด เล่ม 3 เนื่องในวันมหาปูชนียาจารย์ ปี 2559
ขอเชิญร่วมบุญจัดพิมพ์หนังสือ ยิ่งหยุดยิ่งนิ่ง...ยิ่งดิ่งไม่หยุด เล่ม 2
เรียนเชิญเจ้าภาพผู้มีบุญทุกท่าน ร่วมบุญจัดพิมพ์หนังสือ ยิ่งหยุดยิ่งนิ่ง...ยิ่งดิ่งไม่หยุด เล่ม 2 เนื่องในวันมหาปูชนียาจารย์ ปี 255
ร่วมเป็นเจ้าภาพ จัดพิมพ์หนังสือ "ที่นี่มีคำตอบ เล่ม 6"
ขอเชิญผู้มีบุญร่วมสร้างปัญญาบารมีด้วยการจัดพิมพ์หนังสือที่นี่มีคำตอบ เล่ม 6 ร่วมบุญใน...กองทุนหนังสือพระราชภาวนาวิสุทธิ์ เนื่องในวาระครบรอบ 9 ปี โรงเรียนอนุบาลฝันในฝันวิทยา เพื่อมอบเป็นธรรมบรรณาการ ศูนย์อบรมทั่วประเทศ
ร่วมบุญจัดพิมพ์หนังสือ ยิ่งหยุดยิ่งนิ่ง...ยิ่งดิ่งไม่หยุด เล่ม 4
ขอเรียนเชิญร่วมบุญจัดพิมพ์หนังสือ ยิ่งหยุดยิ่งนิ่ง...ยิ่งดิ่งไม่หยุด เล่ม 4 พิมพ์เนื่องในวันมาฆบูชา พ.ศ. 2566 เป็นหนังสือที่รวบรวมทบทวนโอวาทของคุณครูไม่ใหญ่ที่เกี่ยวกับธรรมยาตรา และการปฏิบัติธรรม (ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ)
พุทธศาสนา ‘บูม’ ในรัสเซีย ชี้คำสอนพิสูจน์ได้จริง-เตรียมแปลพระไตรปิฎกรองรับ
แพทย์เตือนภัยติดตั้งถังแก๊สในรถเหมือนพกระเบิด3พันปอนด์
มงคลที่ ๗ เป็นพหูสูต - สั่งสมปัญญาบารมี
ความรู้ในพระไตรปิฎกนั้น ยิ่งศึกษายิ่งแตกฉาน ทำให้เราเข้าใจและรู้หนทางไปสู่อายตนนิพพานเพิ่มมากขึ้น เสมือนได้นั่งอยู่เบื้องพระพักตร์ของพระบรมศาสดา กาย วาจา ใจ ของเราจะบริสุทธิ์เกลี้ยงเกลาตามพระองค์ไปด้วย ในตอนนี้จะได้อธิบายเกี่ยวกับหมวดพุทธวจนะ ในพระไตรปิฎก
เทพบุตรมาร (๒)
รูปที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ เสียงที่จะพึงรู้แจ้งด้วยหู กลิ่นที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจมูก รสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยลิ้น สัมผัสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยกาย ธรรมารมณ์ที่จะพึงรู้แจ้งด้วยใจ อันน่ารักน่าปรารถนาน่าใคร่ น่าพอใจ อาศัยความใคร่ ชวนให้กำหนัดมีอยู่ หากภิกษุไม่เพลิดเพลิน ไม่สรรเสริญ ไม่หมกมุ่น ไม่พัวพันอยู่ในรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสและธรรมารมณ์ ภิกษุนี้เรากล่าวว่า ไม่ไปสู่ที่อยู่ของมาร ไม่ตกอยู่ในอำนาจของมาร ไม่ถูกมารครอบงำ เป็นผู้พ้นจากบ่วงมาร ภิกษุนั้น มารผู้มีบาปพึงใช้บ่วง ทำตามความปรารถนาไม่ได้