จันทกุมาร บำเพ็ญขันติบารมี (๔)
สัตบุรุษทั้งหลายบรรเทาความทุกข์อันยากที่จะอดทนได้ด้วยความสุข เพราะเป็นผู้มีจิตเยือกเย็นยิ่งนัก ในความสุข และทุกข์ทั้ง ๒ อย่าง ย่อมเป็นผู้มีจิตเป็นกลาง ทั้งในความสุขและทุกข์
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - สัมมาทิฏฐิ ( ๒ )
วันนี้จะนำเรื่องของผู้ที่ปฏิบัติสวนทางกับพระนิพพาน มาเล่าสู่กันฟัง เป็นเรื่องของผู้ที่ในใจลึกๆ นั้น มีความปรารถนาอยากบรรลุมรรคผลนิพพาน แต่ด้วยวินิจฉัยยังไม่สมบูรณ์ จึงเข้าใจว่าตนเป็นพระอรหันต์ แม้กระนั้นก็ตาม ดวยความเป็นยอดกัลยาณมิตรของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทำให้ท่านกลับใจ
100 คำสอน สมเด็จพระสังฆราช
100 คำสอนของสมเด็จพระสังฆราช เป็นคำสอนที่ใช้ภาษาเรียบง่าย และงดงาม ชวนให้น้อมนำเข้ามาสู่จิตใจ 100 คำสอนที่รวบรวมมาแต่ละคำสอนเป็นข้อความสั้น ๆ ว่าด้วย ชีวิต, คน, คนดี, กรรม, ความสุข, ความดี, เมตตา และชัยชนะ
ทำอย่างไรให้ปากสวย ปากหอม
ปากมี ลักษณะพิเศษกว่าอวัยวะอื่นๆ บนใบหน้า ตามี 2 ตา ทำหน้าที่ดูอย่างเดียว หูมี 2 หู ทำหน้าที่ฟังอย่างเดียว แต่ปากมีปากเดียว แต่ทำหน้าที่ 2 อย่าง คือ ทั้งกิน ทั้งพูด จึงต้องสับหลีก แบ่งเวลาใช้งาน แต่บางคนก็ใช้ไปพร้อมกันทั้ง 2 อย่าง คือ ทั้งกิน ทั้งพูดในเวลาเดียวกัน
ติวเข้ม"ครูสอนปริยัติธรรม" เสริมเทคนิคการสอนสมัยใหม่
ทำไม..การทอดกฐินถึงได้บุญมาก
การทอดกฐินทำให้ผู้ทำได้บุญมาก ก็เพราะการทอดกฐินเป็นการทำบุญที่เกิดขึ้นได้ยาก เนื่องจากมีข้อจำกัดถึง 7 อย่าง ถ้าขาดข้อใดข้อหนึ่งก็จะถือเป็นการทำบุญทั่ว ๆ ไป ไม่ใช่การทำบุญทอดกฐิน
อัศจรรย์เคี้ยว “มะนาว” เลิกบุหรี่ใน 2 สัปดาห์
สัตว์เลี้ยง คนเลี้ยง
...บางคนอาจจะสงสัยว่า ชีวิตคนๆ หนึ่งจะผูกพันกับหมาแมว ได้มากมายเพียงนี้เชียวหรือ แต่สำหรับ 'สำรวย โตพฤกษา' หรือ ป้าหนอน แล้ว ดูเหมือนว่า สุนัขเหล่านี้เป็นส่วนหนึ่งในชีวิตของเธอ
ธัมมัสสวนมัย จิตผ่องใสได้ฟังธรรม
“ภิกษุทั้งหลาย เวลาที่ทรงคุณค่าที่บุคคลให้เป็นไปโดยชอบแล้วย่อมทำให้ถึงความสิ้นอาสวะโดยลำดับ เวลาที่ทรงคุณค่า 4 อย่าง คือเวลาฟังธรรมตามกาล เวลาสนทนาธรรมตามกาล เวลาทำความสงบของใจและเวลาพิจารณาธรรมให้เกิดความรู้แจ้ง” (ทุติยกาลสูตร)
กระแสแห่งกรรม (๒)
ภิกษุทั้งหลาย โลสกติสสะผู้นี้ ได้ประกอบกรรมคือ ความเป็นผู้มีลาภน้อย และความเป็นผู้ได้อริยธรรมของตนด้วยตนเอง เนื่องด้วยครั้งก่อนเธอกระทำอันตรายลาภของผู้อื่น จึงเป็นผู้มีลาภน้อย แต่เป็นผู้บรรลุอริยธรรมได้ด้วยผลที่บำเพ็ญวิปัสสนา คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา