เปรตเฝ้าทรัพย์
คนตระหนี่ย่อมกลัวความหิวและความกระหาย ความหิวและความกระหายนั้น ย่อมถูกต้องคนตระหนี่นั้น ผู้เป็นพาลทั้งในโลกนี้และในโลกหน้า เพราะฉะนั้น บุคคลควรกำจัดความตระหนี่อันเป็นสนิมในใจ แล้วให้ทานเถิด เพราะบุญทั้งหลายย่อมเป็นที่พึ่งของสัตว์ทั้งในโลกนี้และโลกหน้า
ภพของเปรตผู้มีฤทธิ์
ท่านพึงบอกชนเหล่าอื่นที่มาสู่ที่นี่ว่า ท่านทั้งหลายจงทำบุญเถิด ท่านทั้งหลายจะได้รับความสุข ดิฉันได้เห็นเปรตทั้งหลายผู้ไม่ได้ทำความดี กำลังเดือดร้อนอยู่ฉันใด มนุษย์ทั้งหลายก็ฉันนั้น หมู่สัตว์คือเทวดาและมนุษย์กระทำกรรมอันมีสุขเป็นวิบากแล้ว ย่อมเป็นผู้ดำรงอยู่ในความสุข
วิธีทำบุญให้ถูกหลักวิชชา
กุลบุตรเมื่อหวนระลึกถึงอุปการคุณที่ท่านทำแล้วในกาลก่อนว่า คนโน้นได้ให้สิ่งของแก่เราแล้ว คนโน้นได้ทำอุปการคุณแก่เราแล้ว ญาติมิตร และสหายได้ให้สิ่งของแก่เรา และได้ช่วยทำกิจของเรา ดังนี้ พึงให้ทักษิณาทานแก่เปรตทั้งหลาย
ทุกข์ของสัตว์นรก
ขั้นตอนการชดใช้กรรมของผู้ผิดศีลกาเมฯ ตอน ทุกข์ของสัตว์นรกในอุสสทนรก ยมโลก เปรตและอสุรกาย
พระธรรมทายาทเดินธุดงค์ พบประสบการณ์เรื่องเปรต
เปรต มีจริงหรือไม่...ประสบการณ์เรื่องเปรตของพระธรรมทายาท รุ่นแสนรูป...คำตอบจากคุณครูไม่ใหญ่ในแบบของโรงเรียนอนุบาลฝันในฝันวิทยา
อย่างแรง พระธรรมทายาทเล่า ประสบการณ์เรื่องเปรต ตอนที่ 2
เปรต มีจริงหรือไม่...ประสบการณ์เรื่องเปรตของพระธรรมทายาท รุ่นแสนรูป...มาฟังจากคำบอกเล่าของพระวิรัช เขมสโร
นรกของคนที่ชอบชนไก่ สูบบุหรี่ ดื่มสุรา
บาปอกุศลที่ได้เคยทำเอาไว้ในสมัยที่ยังมีชีวิต เช่น บาปที่ชอบเล่นพนันชนไก่ เป็นต้น ได้ช่องและชิงช่วงมาส่งผลก่อนผลแห่งวิบากกรรมจากการเล่นพนันชนไก่
การอุทิศส่วนกุศล
วันนี้มีคำถามจากคุณโยมท่านหนึ่งมาว่า กระผมอยากถามข้อสงสัยเกี่ยวกับการอุทิศส่วนกุศลให้แก่ผู้ล่วงลับ หากเขาไปเกิดเป็นคนในอีกภพหนึ่งแล้วเนี่ย เรายังกรวดน้ำโดยที่จิตมุ่งให้เขาอยู่เขาจะได้รับหรือไม่ครับ
จิต
คำว่า " จิต " ตามหลักคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า หมายถึง สภาพรู้ อาการรู้ลักษณะรู้แจ้งอารมณ์ เป็นใหญ่เป็นประธานในการรู้แจ้งอารมณ์ และคำว่า จิตนี้ยังมีชื่อที่ใช้แทนคำว่าจิตในบางแห่งอีกมาก เช่น ใจ มโน มานัส ปัณฑระ หทัย วิญญาณวิญญาณขันธ์ มนายตนะ เป็นต้น ในชีวิตประจำวันของเรา จะทราบได้ว่าผู้ที่ยังไม่ตายมีชีวิตอยู่ เป็นผู้มีจิตเกิดดับต่อเนื่องไปจนกว่าจะตาย ฉะนั้น จิตคือ สภาพรู้ทางตา ทางหู ทางจมูก ทางลิ้น ทางกาย ทางใจ
มงคลที่ ๖ ตั้งตนชอบ - รู้เท่าไม่ถึงการณ์ (๓)
พระราชารู้สึกกลัวในกาเมสุมิจฉาจารที่พระองค์กำลัง จะล่วงละเมิด ทรงเริ่มเกิดความสังเวชสลดพระทัย และอยากจะช่วยเปรตให้เสวยสุข จึงตรัสถามว่า "ทำอย่างไรท่านจึงจะได้เครื่องนุ่งห่ม ขอจงบอกเราเถิด หากเราช่วยท่านได้ เราก็ยินดี และเพื่อเป็นการพิสูจน์ว่า ผลแห่งกรรมดีสามารถอุทิศให้ได้"