ต่างกันไหม คนที่ให้ทานกับไม่ให้ทาน
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า ดูก่อนสุมนา คนทั้งสองนั้นพึงมีความพิเศษแตกต่างกัน คือ ผู้ให้เป็นเทวดาย่อมข่มเทวดาผู้ไม่ให้ด้วยเหตุ 5 ประการ คือ อายุ วรรณะ สุข ยศ และอธิปไตยที่เป็นทิพย์
ฟื้นฟูศรัทธาคือหน้าที่ของพระธุดงค์
การเดินธุดงค์ของพุทธบุตรผู้กล้า จากศูนย์อบรมในจังหวัดลพบุรี เต็มไปด้วยแรงบันดาลใจอันยิ่งใหญ่ เพราะได้รับความเมตตาจากพระเดชพระคุณพระราชปริยัติสุธี เจ้าคณะจังหวัดลพบุรี
มงคลที่ ๒๑ ไม่ประมาทในธรรม - แม้เป็นคนดี ก็ไม่ควรประมาท
รุ่งขึ้น พระราชาให้นำไหขนาดใหญ่บรรจุคูถจนเต็ม เอาใบตองมาผูกปากไหไว้ ให้ไปตั้งเรียงกัน ใส่น้ำมันยาง ต้นกากะทิง และหนามงิ้วหนาๆ จนเต็มหม้อ วางไว้หัวบันได ทรงให้พวกนักมวยร่างใหญ่ ถือค้อนยืนอยู่ใกล้ๆ หัวบันได จากนั้นพระองค์ทรงรอคอยด้วยความอาฆาตแค้นที่สุมแน่นอยู่ในอก
มงคลที่ ๗ เป็นพหูสูต - พระปัญญาบริสุทธิ์
ผู้ที่ได้ชื่อว่าเป็นบัณฑิต ผู้รู้ ผู้มีปัญญา ต้องดำรงตนเป็นทูตสันติภาพได้ด้วย นอกจากจะมีปฏิภาณที่ยอดเยี่ยมแล้ว ต้องไม่มีอคติความลำเอียง และต้องรู้จักแสวงจุดร่วมสมานจุดต่าง คอยประสานรอยร้าวเหมือนเป็นกาวใจ
อานิสงส์ของการให้ที่พักและที่สร้างวัด-ที่นี่มีคำตอบ
การที่ลูกหาสถานที่พักให้พระภิกษุและอุบาสกระหว่างเรียน และหาสถานที่สร้างวัดไทยนางาโน่ ประเทศญี่ปุ่น และบุญที่ได้ใช้บ้านเป็นสถานที่ปฏิบัติธรรม จะมีอานิสงส์อย่างไรบ้าง
ทุกข์อย่างยิ่ง สุขอย่างยิ่ง
ความหิวเป็นโรคอย่างยิ่ง, สังขารทั้งหลาย เป็นทุกข์อย่างยิ่ง, บัณฑิตทราบเนื้อความนั่น ตามความจริงแล้ว
ทางลัด ในการเข้าถึงธรรม
การฝึกสมาธิ จนมีสภาพใจที่รวมหยุดนิ่งนั้น อาจเป็นเรื่องยากสำหรับหลายคน เพราะกว่าใจจะรวมเป็นหนึ่งจนได้ปฐมฌาน (เข้าถึงดวงปฐมมรรค) ต้องผ่านขั้นตอนต่างๆ ไปตามลำดับขั้นก่อน ซึ่งเราเรียกขั้นตอนนั้นว่า “องค์แห่งฌาน”
"คุณทวดอ่างทอง" อายุ105ปี เผยเคล็ดอายุยืน! ไม่เครียด-กินผักจิ้มน้ำพริก
ยุทธศาสตร์ชีวิต-พิชิตใจตน
ยุทธศาสตร์ของชีวิต คือ 1. ตั้งเป้าหมายชีวิตให้ชัดเจน มีศรัทธา 2. มีวินัยกำกับตัวเองให้มุ่งตรงต่อเป้าหมายนั้น ฝันให้ไกล ต้องทำให้ถึงด้วย ถึงจะถึงที่ฝัน 3. แสวงหาความรู้เพื่อจะได้นำไปสู่เป้าหมายนั้นได้จริงๆ 4. รู้จักสละอารมณ์ที่ไม่ดีออกไปจากใจ อย่าไปติดใจประเด็นเล็กๆ จนทำให้เราเบี่ยงเบนไปจากเป้าหมาย 5. มีปัญญาในการนำสรรพกำลังทั้งปวงมาทุ่มเทแก้ปัญหา
ส่องธรรม ล้ำภาษิต : ตกทุกข์ก็สุขได้
ทุกฺเข สุขานิ วินฺทติ คนมีปัญญา เมื่อถึงคราวตกทุกข์ ก็ยังหาสุขได้ (๒๗/๒๔๔๔)