พูดดี พูดโดน ง่ายกว่าที่คิด
การพูดไม่ว่าจะเป็นกรณีใดๆ ก็ตามแต่ การพูดออกไปนั้นเป็นการบ่งบอกความเป็นตัวตนของบุคคลนั้นๆ
ถึงจะท่องจําตําราได้น้อย แต่ประพฤติชอบธรรม
ถึงจะท่องจําตําราได้น้อย แต่ประพฤติชอบธรรม ละราคะ โทสะ และโมหะได้ รู้แจ้งเห็นจริง มีจิตหลุดพ้น ไม่ยึดมั่น ถือมั่น ทั้งปัจจุบันและอนาคต เขายอมได้รับผลที่พึงได้จากการบวช
ธรรมเนียมปฏิบัติต่อผู้ใกล้ตาย
ธรรมเนียมปฏิบัติต่อผู้ใกล้ตาย เป็นหน้าที่ของพวกญาติมิตรที่ต้องทราบเพื่อจะได้ปฏิบัติได้ถูกต้อง แม้บางครั้งอาจจะไม่ถูกใจของญาติมิตรบางคน หรือแม้แต่ผู้ที่ใกล้ตายก็ตาม แต่ก็เป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องทำเพื่อคนใกล้ตาย
วิธุรบัณฑิต บำเพ็ญสัจบารมี (๖)
การทำทาน รักษาศีลและเจริญภาวนา เป็นพื้นฐานแห่งความสุขที่แท้จริง ทานที่ให้ด้วยความบริสุทธิ์ใจ
มโหสถบัณฑิต ตอนที่ ๑๑ ( สนองราชกิจ )
การปฏิบัติธรรมเป็นหัวใจในการสร้างบารมี ใคร อยากจะประสบความสำเร็จในการปฏิบัติธรรม ก็อย่าดูเบาในเรื่องเล็กๆ น้อยๆ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของท่านั่ง การหลับตา หรือการทำใจให้สบายๆ ให้ปลอดโปร่ง ปลดปล่อยวางจากภารกิจการงานต่างๆ เป็นต้น โดยเฉพาะเรื่องปลิโพธความกังวลใจในชีวิตประจำวัน เรื่องการทำมาหากิน ครอบครัว ญาติสนิทมิตรสหาย การศึกษาเล่าเรียน หรือแม้แต่การเดินทาง
ธรรมกาย กายแห่งการตรัสรู้ธรรม
ธรรมกาย คือ กายแห่งการตรัสรู้ธรรม คำว่า “ธรรมกาย” มีปรากฏหลักฐานทั้งในพระไตรปิฎก และคัมภีร์สำคัญๆ ในพระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาทของเราหลายแห่ง พุทธรัตนะ คือ ธรรมกาย ธรรมรัตนะ คือ ธรรมทั้งหลายที่กลั่นจากหัวใจธรรมกาย สังฆรัตนะ คือ ดวงจิตของธรรมกาย
เป็น อยู่ คือ... วิถีชาวพม่า
ประชากร พม่าเป็นประเทศที่รวมกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ ไว้มากถึง 135 กลุ่ม ประกอบด้วยเชื้อชาติหลักซึ่งมีจำนวนประชากรค่อนข้างมากและมีความเป็นมาทางชาติพันธุ์เด่นชัด 8 กลุ่ม ได้แก่ พม่า ไทใหญ่ กะเหรี่ยง ยะไข่ จีน มอญ อินเดีย กะฉิ่น แต่ละกลุ่มมีเอกลักษณ์ด้านภาษาและวัฒนธรรมแตกต่างกันไป
รักแท้ของหัวใจ และ รักสุดท้ายของชีวิต
แต่ก่อนลูกไม่ชอบฟังเทศน์ค่ะ ประมาณว่า ถ้าไปวัดไหนถวายไทยธรรมเสร็จแล้วกลับเลย แต่พอมาเจอหลวงพ่อ เปลี่ยน Concept ของตัวเองทันที เดี๋ยวนี้ชอบฟังธรรมะ ชอบฟังพระเทศน์ ฟังแล้วไม่เบื่อ มีความสุข ติดฟังหลวงพ่อ ยิ่งกว่าติดดูนิยายอีกนะเจ้าคะ
มงคลที่ ๗ เป็นพหูสูต - ปัญญาเพิ่มพูนเกียรติคุณ
"ยามคับขันย่อมต้องการคนกล้า ยามประชุมปรึกษาย่อมต้องการคนหนักแน่น ยามมีข้าวน้ำบริบูรณ์ย่อมปรารถนาผู้เป็นที่รัก ยามมีปัญหาย่อมปรารถนาบัณฑิตผู้มีปัญญา" พระสัมมาสัมพุทธเจ้าก็ทรงสรรเสริญพระอานนท์ว่าเป็นยอดพหูสูต ผู้มีปัญญาลึกล้ำ
วิธุรบัณฑิตบําเพ็ญสัจจบารมี (6)
บุคคลผู้มีปัญญา ถึงจะสิ้นทรัพย์ ก็ยังมีชีวิตอยู่ได้ ส่วนบุคคลผู้ไม่มีปัญญา ถึงจะมีทรัพย์ แต่ก็ไม่อาจเป็นอยู่ได้ ปัญญาเป็นเครื่องตัดสินสิ่งที่ตนได้ฟังมา เป็นเครื่องเจริญชื่อเสียงและความสรรเสริญ นรชนในโลกนี้ ผู้ประกอบด้วยปัญญา แม้ในเวลาที่ตนตกทุกข์ ก็ย่อมได้รับความสุข