นิสัย คืออะไร
ถ้าท่านขยันปฏิบัติตามหลักการ และวิธีการรักษาสมดุลโครงสร้างของร่างกายได้อย่างถูกต้อง และต่อเนื่องจนติดเป็นนิสัย ท่านก็จะมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงสมบูรณ์อยู่เสมอ โรคภัยไข้เจ็บใดๆ ไม่กล้ามารบกวน
ทุกข์เพราะกาม
“กาม” เป็นต้นเหตุสำคัญที่ก่อให้เกิดความหิวกระหายในใจของเรา ความอยากในกามได้คอยครอบงำ และบงการชีวิตเรา ให้เรารู้สึกไม่พอใจในสิ่งที่เรามี
พันธนาการแห่งชีวิต
เรือนจำ” เป็นสถานที่ที่คนทั้งหลายไม่อยากย่างกรายเข้าไป เพราะเป็นสถานที่ที่มีไว้เพื่อกักขังหน่วงเหนี่ยวให้หมดอิสรภาพ
บวชเพื่อถางทางไปพระนิพพาน
เป้าหมายการบวชที่แท้จริง คือ การเพื่อกำจัดทุกข์ ไม่ใช่บวชเพื่อเล่นไม่ใช่บวชเพื่อเอาสนุก หรือบวชตามประเพณี แต่บวชแล้วต้องเอาจริงเอาจังมุ่งไปพระนิพานด้วยการฝึกฝนอบรมตนเองตามพระธรรมวินัยอย่างเคร่งครัด
มงคลที่ ๒๑ ไม่ประมาทในธรรม - อรกศาสดา
ในยุคสมัยที่มนุษย์มีอายุเฉลี่ย ๖๐,๐๐๐ ปี มีเจ้าลัทธิ ผู้เรืองปัญญาท่านหนึ่ง ชื่อ อรกะ เป็นเจ้าลัทธิผู้ปราศจากความกำหนัดยินดีในกาม อร กศาสดามีสาวกหลายร้อยคน ท่านสอนสาวกเสมอว่า ดูก่อนพราหมณ์ ชีวิตของมนุษย์ทั้งหลาย มีทุกข์มาก มีความคับแค้นมาก ควรรีบทำบุญกุศล ควรประพฤติพรหมจรรย์ เพราะสัตว์ที่เกิดมาแล้ว จะไม่ตายนั้นย่อมไม่มี
มงคลที่ ๓๓ เห็นอริยสัจ - พระปิณโฑลภารทวาชเถระ ตอนที่ ๒
ในวันที่๗ พระพุทธองค์เสด็จออกจากนิโรธสมาบัติ แล้วมาประทับยืนอยู่ที่ประตูถ้ำ ราชสีห์ทราบว่าพระพุทธองค์ออกจากสมาธิแล้ว จึงทำประทักษิณ ด้วยการเดินเวียนขวารอบพระพุทธองค์ ๓รอบ เป็นการแสดงการเคารพนอบน้อมและเปล่งสีหนาทขึ้นด้วยเสียงดังกึกก้อง แทนการกล่าวสรรเสริญด้วยความเลื่อมใส
มงคลที่ ๓๔ ทำพระนิพพานให้แจ้ง - ผู้อยู่จบพรหมจรรย์
ในที่สุดแห่งพระธรรมเทศนา เมตตคูก็ได้สำเร็จเป็นพระอรหันต์ เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ ทั้งวิชชา๓ วิชชา๘ อภิญญา๖ วิโมกข์๘ จรณะ๑๕ ท่านได้บรรลุหมด รู้แจ้งเห็นแจ้งแทงตลอดในคำสอนของพระบรมศาสดา และได้บวชแบบเอหิภิกขุอุปสัมปทา โดยพระพุทธองค์ได้เมตตาประทานการบวชให้
เส้นทางจอมปราชญ์ (๑)
ขุมทรัพย์คือบุญนั้น สามารถให้สมบัติที่น่าใคร่ทุกอย่างได้ มนุษย์และเทวดาทั้งหลายปรารถนาผลใด ผลทั้งปวงย่อมได้ด้วยบุญนิธินั้น
ถาม-ตอบ มหาธรรมยาตราธุดงค์ธรรมชัย เส้นทางพระผู้ปราบมาร
ถาม-ตอบ มหาธรรมยาตราธุดงค์ธรรมชัย เส้นทางพระผู้ปราบมาร โดย พระมหาสมเกียรติ วรยโส ป.ธ.9 อภิธรรมมหาบัณฑิต, พระมหาวีรวัฒน์ วีรวฑฺฒโก ป.ธ.9, พระมหา ดร.สุธรรม สุรตโน ป.ธ.9, พระ ดร.สมศักดิ์ จนฺทสีโล
การรู้จักตัวเองอย่างถูกหลักวิชชา
ในพระพุทธศาสนา ประเด็นใหญ่ในการเรียนการสอน คือ การพยายามที่จะสอนให้ทุกคนรู้จักตัวเองให้เร็วที่สุดเท่าที่จะเร็วได้