เศษกรรมนำให้เป็นสัตว์ดิรัจฉาน
ชีวิตของสัตว์เดียรัจฉานเป็นชีวิตที่ทุกข์ทรมาน น่าสงสาร หาความสุขได้ยาก ที่เป็นผลเช่นนี้ ก็เพราะผลแห่งกรรมชั่วที่ตนกระทำไว้ในอดีตทั้งสิ้น
ผลการปฏิบัติธรรม อุบาสิกาแก้วหน่ออ่อน
อุบาสิกาแก้วกนกวรรณ จันทะวงศ์ศรี
ผมมี 2 ขาแล้วครับ
ผมก็รู้สึกว่า ผมมี 2 ขาแล้วครับ ที่กล่าวอย่างนี้ไม่ใช่ผมพิการนะครับ แต่ผมอยากจะเปรียบเทียบว่า ที่ผ่านมาผมในฐานะที่เป็นพุทธมหายานเหมือนคนที่เดินด้วยขาข้างเดียวมาโดยตลอด ผมอยากให้มีพุทธเถรวาทอยู่ในมองโกเลียมานานแล้ว เมื่อพระอาจารย์และคณะได้นำ DMC มาติดที่นี่ เหมือนผมมีขาครบ 2 ข้างแล้ว ทีนี้จะวิ่งไปไหน เดินไปไหน ก็สามารถวิ่งไปได้เร็วๆ
ร.ร.แพทย์ 4 ภาคขานรับเทคโนโลยีภาพ 3 มิติ แก้ไขใบหน้า-กะโหลกศีรษะผิดปกติ
หว่อ อ๊าย หนี่...กฐินนี้เพื่อเธอ
ชายคนหนึ่ง เป็นคนรักครอบครัว ทำงานหนักเพื่อให้ครอบครัวสุขสบาย ส่งเสียให้ลูกๆได้เรียนสูงๆ จะได้มีอาชีพที่ดี ไม่ต้องเหนื่อยยากลำบากเหมือนกับเขา...ต่อมา เขาได้ล้มป่วย เป็นมะเร็งปอดระยะที่3 เขาอยากที่จะสร้างบุญใหญ่ ด้วยการเป็นประธานรอง กฐินปี พ.ศ.2549 แต่ขณะนั้นครอบครัวยังไม่พร้อม...เมื่อพร้อมที่จะทำบุญ เขาก็ได้ละโลกเสียแล้ว ภรรยาของเขาได้ทำตามความต้องการของเขา เพื่อให้บุญนี้เป็นเสบียงติดตัวเขาไปทุกภพทุกชาติ
รองรับพระธรรม น้อมนำถวาย
พระไตรปิฎกบาลีหรือพระบาลีเป็นคัมภีร์พระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาทที่บันทึกคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ในยุคแรกคำสอนของพระองค์เรียกโดยรวมว่าพระธรรมวินัย ต่อมาในภายหลังจึงแบ่งเนื้อหาออกเป็น ๓ หมวด คือ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก และพระอภิธรรมปิฎก
อารมณ์กับการเกิดโรค
กายกับใจมีผลต่อกัน ถ้าใครมีสุภาพใจที่ดีมักจะมีร่างกายที่แข็งแรง ในทางตรงกันข้ามถ้าใครปล่อยให้อารมณ์ของตัวเองไหลไปตามสิ่งเร้าจากภายนอกมากระตุ้นทำให้มีอารมณ์เปลี่ยนแปลงบ่อยๆ มักจะมีสุขภาพไม่ดี วันนี้เราจึงมาพูดถึง ว่าอารมณ์ต่างๆมีผลต่อรางกายของเราอย่างไร และเป็นปัจจัยให้เกิดโรคได้อย่างไร
แคล้วคลาดอันตราย รอดตาย...
ลูกชายจึงเร่งเครื่องแซงขวาเพื่อไปในเส้นทางตรง แล้วจังหวะนั้นก็มีรถปิ๊กอัพที่จะเลี้ยวขวาพุ่งตัดหน้าทันควัน มอเตอร์ไซค์ของลูกชายจึงประสานงากับรถปิ๊กอัพอย่างแรง เสียงดังสนั่นหวั่นไหว แรงที่เกิดจากการชนโยนตัวลูกชายให้ลอยข้ามรถปิ๊กอัพคันที่ชนไปตกยังอีกฝั่งหนึ่ง ในเวลานั้นลูกชายก็คิดว่า “ยังไงก็คงจะต้องตายแน่ๆ”
การลุกจากที่นอน
คนเราต้องฝึกบริหารร่างกายอย่างน้อยวันละครั้ง แต่ดีที่สุดควรเป็น วันละ 2-3 ครั้ง คือ ตอนเช้าเมื่อตื่นนอน ตอนกลางวันช่วงพักจากการทำงาน และตอนเย็นก็บริหารอีกรอบ เพื่อจัดโครงสร้างของร่างกายให้เข้าที่ก่อนจะพักผ่อน
ความรู้พื้นฐานที่นำไปสู่ความเข้าใจของการเกิดโรค ตอนที่ 1
การที่จะเข้าใจถึงการเกิดโรคต่างๆ จำเป็นต้องมีความรู้พื้นฐานต่างๆ เพื่อจะได้หาทางป้องกันและแก้ไขได้อย่างถูกต้อง