จันทกุมารบําเพ็ญขันติบารมี (4)
สัตบุรุษทั้งหลายบรรเทาความทุกข์อันยากที่จะอดทนได้ด้วยความสุข เพราะเป็นผู้มีจิตเยือกเย็นยิ่งนัก ในความสุข และทุกข์ทั้ง ๒ อย่าง ย่อมเป็นผู้มีจิตเป็นกลาง ทั้งในความสุขและทุกข์
วิธุรบัณฑิตบําเพ็ญสัจจบารมี (2)
ชีวิตนี้น้อยนัก หมู่สัตว์ย่อมตาย แม้ภายใน ๑๐๐ ปี ถ้าแม้สัตว์เป็นอยู่เกิน ๑๐๐ ปีไปไซร้ สัตว์นั้นก็ต้องตายเพราะชราโดยแท้
วิธุรบัณฑิตบําเพ็ญสัจจบารมี (6)
บุคคลผู้มีปัญญา ถึงจะสิ้นทรัพย์ ก็ยังมีชีวิตอยู่ได้ ส่วนบุคคลผู้ไม่มีปัญญา ถึงจะมีทรัพย์ แต่ก็ไม่อาจเป็นอยู่ได้ ปัญญาเป็นเครื่องตัดสินสิ่งที่ตนได้ฟังมา เป็นเครื่องเจริญชื่อเสียงและความสรรเสริญ นรชนในโลกนี้ ผู้ประกอบด้วยปัญญา แม้ในเวลาที่ตนตกทุกข์ ก็ย่อมได้รับความสุข
แนวคิดการบำเพ็ญบารมี_4
ดูก่อนสุเมธดาบส ท่านจงสมาทานศีลบารมีข้อที่ ๒ นี้ กระทำให้มั่นก่อน จงถึงความเป็นผู้มีศีลบารมี หากท่านปรารถนา เพื่อจะบรรลุพระโพธิญาณ หางจามรีคล้องติดในที่ไหนก็ตาม ถ้าปลดขนหางออกไม่ได้ มันก็ยอมตายในที่นั้น แม้ฉันใด ท่านจงบำเพ็ญศีลให้บริบูรณ์ในภูมิทั้งสี่ อย่าได้เห็นแม้แก่ชีวิต รักษาเฉพาะศีลเท่านั้นในกาลทุกเมื่อ เหมือนจามรีรักษาขนหางด้วยชีวิต ฉันนั้นเถิด
อานิสงส์เอาของหอมฉาบทากุฏิ
บุคคลใดเอาของหอมทาพื้นพระคันธกุฎี ด้วยผลของกรรมนั้น ไม่ว่าเขาจะเกิดในชาติใดๆ จักเป็นผู้มีกลิ่นกายหอมทุกชาติไป จักเป็นผู้เจริญด้วยกลิ่นคือคุณแห่งศีล จักเป็นผู้ไม่มีอาสวะแล้วจักปรินิพพาน เพราะกรรมที่ทำไว้ดีนั้น และเพราะการตั้งเจตจำนงไว้
โทษของผู้รังแกสมณะ
ความจริง บาปที่ตนทำแล้ว อันเกิดจากตน ที่มีตนเป็นแดนเกิด ย่อมย่ำยีบุคคล ผู้มีปัญญาทราม เหมือนเพชรย่ำยีแก้วมณีที่เกิดแต่หิน ฉะนั้น
มงคลที่ ๖ ตั้งตนชอบ - สารธรรมของชีวิต
มนุษย์ทุกคนที่เกิดมา ต่างแสวงหาทางหลุดพ้นจากความทุกข์ ซึ่งเป็นสาระที่แท้จริงสำหรับชีวิต แต่เนื่องจากปัญญาและวิจารณญาณที่แตกต่างกัน ทำให้มีการแสวงหากันไปต่างๆ นานา พบทั้งสิ่งที่ถูกต้องและไม่ถูกต้อง ยิ่งถ้าขาดกัลยาณมิตร ก็เหมือนกับคนเดินทางในที่มืด
มงคลที่ ๓ บูชาบุคคลที่ควรบูชา - ใจที่เลื่อมใสปิดอบายภูมิ
ในยุคนั้น พระสุสัญญกเถระบังเกิดในตระกูลมีชื่อเสียงตระกูลหนึ่ง เมื่อเจริญวัยขึ้นได้ฟังคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธ เจ้า ที่ตรัสให้เห็นภัยในวัฏสงสาร และอานิสงส์ของการทำใจให้เลื่อมใส ท่านเกิดศรัทธาอย่างยิ่งจึงคิดว่า เวลาชีวิตของมนุษย์นี้ ประเดี๋ยว ก็วันประเดี๋ยวก็คืน ควรที่เราจะรู้จักจับแง่คิดในการเอาบุญ รู้จักระวังไม่ให้อกุศลบังเกิดขึ้นในใจ ตั้งแต่นั้นมา ท่านตั้งใจสำรวมระวังตลอดเวลา ไม่ให้อกุศลทั้งหลายเข้ามาในใจของตน