พอจะมีธรรมะแบบสรุปสั้นๆบ้างหรือไม่
ธรรมะทั้งหมดที่พระองค์ตรัสไว้ตลอด 45 พรรษา รวมแล้วได้ 84,000 ข้อ มีปรากฏในพระไตรปิฎก แต่เมื่อสรุปแล้วเหลือเพียง 1 ข้อ คือ ความไม่ประมาท
รมว.ทส. รายงานกรณีพุทธอุทยานเขาอีโต้ ต่อ มส.
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพย์กรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้ถวายรายงานเกี่ยวกับกรณีที่เลือกพื้นที่บริเวณป่าสงวนแห่งชาติ ป่าน้ำตกเขาอีโต้ อำเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี เป็นพุทธอุทยานโลก ต่อคณะกรรมการมหาเถรสมาคม
วธ.ส่งท้ายปีเก่ารับปีใหม่วิถีพุทธ ดึงวัดเปิดประตูโบสถ์ถึงเที่ยงคืน
บัณฑิตสามเณร ผู้บรรลุอรหันต์จากการฟังธรรมเพียง ๔ ข้อ
บัณฑิตสามเณรบวชตอนอายุได้ ๗ ขวบ สามารถสำเร็จอรหันต์ในวันที่ ๘ ของการบวช มารดาตั้งชื่อว่า "บัณฑิต" เหตุเพราะเมื่อสามเณรได้มาปฏิสนธิในครรภ์มารดา ก็ปรากฏว่าคนในบ้านเรือนมีแต่ความฉลาดปราดเปรื่องมากขึ้น
มโหสถบัณฑิต ตอนที่ ๑๙ ( แก้ปัญหาเทพ )
ครั้งนี้ถึงตอนที่มโหสถบัณฑิตมารับราชการตามเดิมแล้ว และจะต้องตอบคำถามที่พระราชาทรงสดับมาจากเทวดา พระราชาได้ตรัสถามมโหสถบัณฑิตว่า เทวดาผู้สิงสถิตอยู่ที่เศวตฉัตร ได้ถามปัญหา ๔ ข้อ กับเรา เราไม่รู้คำตอบของปัญหา ๔ ข้อนั้น อาจารย์ทั้ง ๔ คน ก็ไม่รู้ เพราะฉะนั้น ท่านจงช่วยกล่าวแก้ปัญหาทั้ง ๔ ข้อ
เวลาใส่บาตรจำเป็นต้องถอดรองเท้าหรือไม่
พระภิกษุถอดรองเท้าบิณฑบาต เพราะเคารพในทานของผู้ตักบาตร ผู้ตักบาตรถอดรองเท้าในฐานะให้ความเคารพกับพระภิกษุ ซึ่งมีศีล 227 ข้อ การถอดรองเท้าเป็นการแสดงความเคารพ
วัดพระธรรมกาย ยืนยันพระเทพญาณมหามุนี มีอาการอาพาธจริงจึงทำหนังสือขอเลื่อนการมาพบ DSI
กรณีที่ทางวัดพระธรรมกาย ได้ยื่นแจ้งขอเลื่อนนัดรับทราบข้อกล่าวหาของพระเทพญาณมหามุนี (หลวงพ่อธัมมชโย) ต่อ พนักงานสอบสวนคดีพิเศษ กรมสอบสวนคดีพิเศษ (ดีเอสไอ) และทางดีเอสไอมีความเห็นว่า “มีการเข้าร่วมพิธีกรรมทางศาสนาต่างๆ ได้เป็นปกติ” นั้น ขอชี้แจงดังนี้
ต้นบัญญัติมารยาทไทย ตอนที่ ๓ บ่อเกิดของมารยาทไทย หมวดที่ ๑ สารูป
ต้นบัญญัติมารยาทไทย ตอนที่ ๓ บ่อเกิดของมารยาทไทย หมวดที่ ๑ สารูป (ข้อ ๓-๘)
วัดพระธรรมกายซีแอตเติลสอนสมาธิเบื้องต้น
วัดพระธรรมกายซีแอตเติล ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้สอนสมาธิ ณ YWCA Downtown Vancouver ซึ่งเป็นองค์กรช่วยผู้หญิงยากไร้
ต้นบัญญัติมารยาทไทย ตอนที่ ๒ บ่อเกิดของมารยาทไทย หมวดที่ ๑ สารูป
ถ้าพูดภาษาชาวบ้านก็เกี่ยวกับการรักษารูปของเรา คือ เรื่องการแต่งเนื้อแต่งตัวและกิริยามารยาทต่าง ๆ ซึ่งของพระภิกษุท่านว่าไว้อย่างนี้ ข้อ ๑-๒ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักนุ่ง-จักห่มให้เรียบร้อย”