การบวชทำให้เป็นคนดี
คำถาม : การบวชที่ว่าทำให้เป็นคนดีนั้น ดีอย่างไร
ร.ร. มัธยมวัดสิงห์ สถิติใหม่ 1,400 ข้อ
คุณครูพวงชมพู กรุงกาญจนา ร.ร.มัธยมวัดสิงห์ กรุงเทพมหานคร เปิดเผยว่า “พอทราบข่าวโครงการ “บอกโทษเกินร้อย ชิงทุนเกินล้าน” เด็กดี V-Star ของเราซึ่งมีทั้งหมด 90 คน เขาก็มาวางแผนกัน และแบ่งงานกันทำ คือ กลุ่มหนึ่งไปหาข้อมูล กลุ่มหนึ่งไปจัดกิจกรรม และมีการออกไปสัมภาษณ์ตามวัด โรงเรียนประถมต่างๆรวมทั้งชุมชนและไปสัมภาษณ์ผู้ปกครองของ V-Star นอกจากนี้ก็มีการเดินรณรงค์ เขียนคำขวัญ และจัดบอร์ด จัดนิทรรศการ สำหรับเคล็ดที่ไม่ลับ ที่ทำให้รวบรวมจำนวนข้อของโทษภัยของสิ่งมึนเมาได้มากถึง 1,400 ข้อ นั้นก็เพราะว่า
ภิกษุณีกับแม่ชีมีความแตกต่างกันอย่างไร
ภิกษุณีมีศีล ๓๑๑ ข้อ แต่ชีมีศีล ๘ ข้อ แม่ชีกับภิกษุณี เป็นคนละประเภทกัน ภิกษุณีนั้นหมดไปนานแล้ว ส่วนแม่ชีนั้นเทียบได้แค่อุบาสิกาเท่านั้นเอง เพราะถือศีล ๘ ยกขึ้นเทียบกับภิกษุณีไม่ได้เลย
ชีวิตของฉัน คือศูนย์กลางกาย
เธอเป็นคนโมโหร้าย ชอบขว้างของใส่สามี และก็เป็นคนที่มีเหตุผลเพียง 2 ข้อ คือ ข้อ 1.ฉันต้องเป็นฝ่ายถูกเสมอ ข้อ 2.ถ้าไม่เข้าใจอะไร ให้ย้อนกลับไปอ่านข้อ 1 ใหม่อีกครั้ง นอกจากนี้ก็ขี้หึงอีกต่างหาก จนกลายเป็นโรคนอนไม่หลับ แต่แล้วชีวิตของเธอก็เปลี่ยนไป เมื่อได้พบกับ DMC...
วัดพระธรรมกายซีแอตเติล จัดปฏิบัติธรรมชาวท้องถิ่น
วัดพระธรรมกายซีแอตเติล ประเทศสหรัฐอเมริกา จัดปฏิบัติธรรมให้แก่ชาวท้องถิ่น
พอจะมีธรรมะแบบสรุปสั้นๆบ้างหรือไม่
ธรรมะทั้งหมดที่พระองค์ตรัสไว้ตลอด 45 พรรษา รวมแล้วได้ 84,000 ข้อ มีปรากฏในพระไตรปิฎก แต่เมื่อสรุปแล้วเหลือเพียง 1 ข้อ คือ ความไม่ประมาท
วธ.ส่งท้ายปีเก่ารับปีใหม่วิถีพุทธ ดึงวัดเปิดประตูโบสถ์ถึงเที่ยงคืน
บัณฑิตสามเณร ผู้บรรลุอรหันต์จากการฟังธรรมเพียง ๔ ข้อ
บัณฑิตสามเณรบวชตอนอายุได้ ๗ ขวบ สามารถสำเร็จอรหันต์ในวันที่ ๘ ของการบวช มารดาตั้งชื่อว่า "บัณฑิต" เหตุเพราะเมื่อสามเณรได้มาปฏิสนธิในครรภ์มารดา ก็ปรากฏว่าคนในบ้านเรือนมีแต่ความฉลาดปราดเปรื่องมากขึ้น
มโหสถบัณฑิต ตอนที่ ๑๙ ( แก้ปัญหาเทพ )
ครั้งนี้ถึงตอนที่มโหสถบัณฑิตมารับราชการตามเดิมแล้ว และจะต้องตอบคำถามที่พระราชาทรงสดับมาจากเทวดา พระราชาได้ตรัสถามมโหสถบัณฑิตว่า เทวดาผู้สิงสถิตอยู่ที่เศวตฉัตร ได้ถามปัญหา ๔ ข้อ กับเรา เราไม่รู้คำตอบของปัญหา ๔ ข้อนั้น อาจารย์ทั้ง ๔ คน ก็ไม่รู้ เพราะฉะนั้น ท่านจงช่วยกล่าวแก้ปัญหาทั้ง ๔ ข้อ
เวลาใส่บาตรจำเป็นต้องถอดรองเท้าหรือไม่
พระภิกษุถอดรองเท้าบิณฑบาต เพราะเคารพในทานของผู้ตักบาตร ผู้ตักบาตรถอดรองเท้าในฐานะให้ความเคารพกับพระภิกษุ ซึ่งมีศีล 227 ข้อ การถอดรองเท้าเป็นการแสดงความเคารพ