มโหสถบัณฑิต ตอนที่ ๑๙ ( แก้ปัญหาเทพ )
ครั้งนี้ถึงตอนที่มโหสถบัณฑิตมารับราชการตามเดิมแล้ว และจะต้องตอบคำถามที่พระราชาทรงสดับมาจากเทวดา พระราชาได้ตรัสถามมโหสถบัณฑิตว่า เทวดาผู้สิงสถิตอยู่ที่เศวตฉัตร ได้ถามปัญหา ๔ ข้อ กับเรา เราไม่รู้คำตอบของปัญหา ๔ ข้อนั้น อาจารย์ทั้ง ๔ คน ก็ไม่รู้ เพราะฉะนั้น ท่านจงช่วยกล่าวแก้ปัญหาทั้ง ๔ ข้อ
วัดพระธรรมกายซีแอตเติลสอนสมาธิเบื้องต้น
วัดพระธรรมกายซีแอตเติล ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้สอนสมาธิ ณ YWCA Downtown Vancouver ซึ่งเป็นองค์กรช่วยผู้หญิงยากไร้
ต้นบัญญัติมารยาทไทย ตอนที่ ๓ บ่อเกิดของมารยาทไทย หมวดที่ ๑ สารูป
ต้นบัญญัติมารยาทไทย ตอนที่ ๓ บ่อเกิดของมารยาทไทย หมวดที่ ๑ สารูป (ข้อ ๓-๘)
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 28
ชาวบ้านปาจีนยวมัชฌคามได้อาศัยวิธีหุงต้มตามที่ มโหสถแนะนำ ในที่สุดก็สามารถช่วยกันหุงข้าวเปรี้ยวขึ้นมาได้สำเร็จตามพระราชประสงค์ ข้าวเปรี้ยวนั้นได้ถึงพร้อมด้วยองค์ ๘ ประการครบถ้วนบริบูรณ์ นั่นคือ ข้อ ๑ ในเมื่อไม่ให้หุงด้วยข้าวสาร ท่านสิริวัฒกะก็ให้จัดการหุงด้วยข้าวป่น และปลายข้าวที่ตำแหลกละเอียดแล้ว จึงไม่ชื่อว่าข้าวสาร
ทศชาติชาดก เรื่อง พระมหาชนก ผู้ยิ่งด้วยวิริยบารมี ตอนที่ 12
พระมหาชนกโพธิสัตว์ได้ทรงผ่านบดทดสอบ และสามารถไข้ปัญหาแห่งขุมทรัพย์ได้ครบทั้ง ๑๖ ข้อ ได้ครองราชสมบัติด้วยพระอัจฉริยภาพอย่างเต็มภาคภูม
แนวการสอนของวัดพระธรรมกาย
แนวการสอนของวัดพระธรรมกาย ยึดหลัก “อนุปุพพิกถา” ซึ่งเป็นแนวการสอนที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงใช้มากที่สุด เป็นการสอนไปตามลำดับ 5 ข้อ คือ
ตัวอย่างโรคต่างๆ ที่เกิดขึ้นเพราะโครงสร้างของร่างกายเสียสมดุล
โรคที่เกิดจากการเสียดุลยภาพมีได้สารพัดรูปแบบ แล้วแต่ว่า เส้นประสาทหรือเส้นเลือดส่วนไหนได้รับผลกระทบ ตัวอย่าง เช่น อาการปวดต่างๆ โรคเกี่ยวกับตา หู คอ จมูก โรคเกี่ยวกับกระดูก ข้อ และกล้ามเนื้อ ฯลฯ
นักเรียนอนุบาล...ตัวอย่าง
ตอนเช้าลูกจะตื่น ตีสี่ครึ่ง นั่งจนตะวันขึ้น และระหว่างวันก็จะทำการบ้าน 10ข้อ พอตกเย็นหลังจากฟังรายการโรงเรียนอนุบาลฝันในฝันวิทยาจบ ก็จะนั่งตามเสียงนำนั่งของพระเดชพระคุณหลวงพ่อ แล้วก็นั่งต่อเองอีกหน่อยจนกระทั่งหลับในอู่ทะเลบุญค่ะ
สรุปกรรมที่ทำให้เกิดปัญหาสังคม
กรรมที่ทำให้เกิดปัญหาสังคม มีสาเหตุมาจากกรรมหลายประการ เช่น การผิดศีล ข้อ 1,ข้อ 3 ในอดีตและปัจจุบัน การคบคนพาล...
"มศว"ผุดอัตลักษณ์นิสิต8ข้อ "คิดเป็น-ทำเป็น-หนักเอาเบาสู้"