คนพาลย่อมได้ทุกข์
ตลอดระยะเวลาที่บาปยังไม่ให้ผล คนพาลสำคัญบาปหวานปานน้ำผึ้ง เมื่อใดบาปให้ผล เมื่อนั้นเขาย่อมได้ทุกข์
เดินตามทางของบัณฑิต ตอนที่ ( ๒ )
บุคคลให้ทานไม่ได้เพราะเหตุผล ๒ ประการ คือ ความ ตระหนี่ และความประมาท บัณฑิตผู้รู้แจ้ง เมื่อต้องการบุญพึงให้ทาน คนตระหนี่กลัวความอดอยากยากจน เพราะความกลัวจนนั่นแหละ จะเป็นภัยแก่ผู้ไม่ให้ และจะกลับมามีผลต่อคนพาลผู้หลงผิด ฉะนั้น บัณฑิตพึงครอบงำมลทิน กำจัดความตระหนี่แล้วรีบให้ทาน เพราะบุญเป็นที่พึ่งของสัตว์ทั้งหลาย ทั้งในโลกนี้และโลกหน้า
ที่ใดมีรัก ที่นั่นมีทุกข์ !? ของ 4 ผู้ช้ำรัก
บุปผรัตตชาดก ชาดกว่าด้วยเป็นทุกข์เพราะภรรยาไม่ได้ผ้าย้อมดอกคำ
เมื่อทหารพาตัวชายผู้เป็นสามีมาถึงที่ ก็พาเขาไปเสียบที่หลาว เขาได้รับเวทนาแสนสาหัส ฝูงกาพากันไปเกาะที่ศีรษะ จิกนัยน์ตาด้วยจะงอยปากอันคมเหมือนปลายคีม ชายผู้นี้ไม่ได้ใส่ใจทุกขเวทนาที่ได้รับแม้แต่น้อย เขายังคงเฝ้าคิดถึงแต่หญิงอันเป็นที่รักเท่านั้น
วางเฉยหรือหนีความจริง
คำถาม : การที่เราทำเฉยกับทุกเรื่องที่ทำให้เราเป็นทุกข์ ถือว่าเราหนีความจริงหรือเปล่าคะ
The Noble Truth of Suffering : 5. Sorrow [soka dukkha]
The Buddha characterized the suffering of sorrow as afflicting one with burning in the heart as if the mind has list all refreshedness
ทุกข์ในอัตภาพสัตว์เดรัจฉานและมนุษย์
ขั้นตอนการชดใช้กรรมของผู้ผิดศีลกาเมฯ ตอน ทุกข์ในอัตภาพสัตว์เดรัจฉานและมนุษย์ ความเดิมจากตอนที่แล้ว เมื่อวิบากกรรมเบาบางจากเปรต อสุรกาย ก็มาต่อด้วยการเป็นสัตว์เดรัจฉาน เริ่มต้นจากสัตว์ชั้นต่ำ
พิธีพระราชทานเพลิงศพ พระพุทธวรญาณ (ทอง สุวณฺณสาโร,ปธ.๖)
ขอเชิญร่วมพิธีพระราชทานเพลิงศพ พระพุทธวรญาณ (ทอง สุวณฺณสาโร,ปธ.๖) อดีตเจ้าอาวาสวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม ณ เมรุวัดมกุฎกษัตริยาราม เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ในวันอาทิตย์ที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 เวลา 17.00 น
ทศชาติชาดก เรื่อง พระเตมีย์ ผู้ยิ่งด้วยเนกขัมมบารมี ตอนที่ 22
จากนั้นก็ทรงมีพระราชดำรัสสั่งให้เปิดท้องพระคลังทั้งหมด และให้จารึกแผ่นทองคำติดไว้ ณ เสาท้องพระโรงว่า “ผู้ใดต้องการทรัพย์สมบัติเงินทองของมีค่า ก็จงมาขนเอาไปจากท้องพระคลังหลวงนั้นเถิด”
มงคลที่ ๖ ตั้งตนชอบ - เส้นทางที่เลือกเดิน
คนเหี้ยมโหดมีมือเปื้อนเลือดชอบฆ่าสัตว์ - เขาก็จะเป็นคนมีอายุสั้น คนที่ไม่เบียดเบียนสัตว์ ไม่ฆ่าสัตว์ เว้นขาดจากปาณาติบาต - เขาจะมีอายุยืน โรคภัยไข้เจ็บไม่เบียดเบียน