เวสสันดรชาดก ตอนที่ ๔ ( พระราชทานช้างมงคล )
เมื่อพราหมณ์ขอช้างได้แล้ว ก็พากันแห่ไปในใจกลางเมือง ครั้นมหาชนเห็นช้างมงคล ต่างถามว่า ท่านได้ช้างนี้มาจากไหน ทันทีที่รู้ว่าได้รับบริจาคมาจากพระเวสสันดร ต่างพากันวิพากษ์วิจารณ์ และโกรธพระโพธิสัตว์มาก ได้รวมตัวกันตั้งแต่คนที่มีชื่อเสียง พระราชบุตรจากทุกตระกูล พ่อค้า ชาวนา พราหมณ์ พากันมาชุมนุมร้องเรียนพระเจ้าสัญชัยว่า
คุณพระช่วย พ่อป่วยก็ดีขึ้น
อานิสงส์ของการสร้างองค์พระธรรมกาย ประจำตัวนั้น มีมากมายอย่างไม่มีประมาณ...เมื่อยามมีชีวิตอยู่ก็รักษาคุ้มครองให้หายทุกข์ทรมานจากโรคภัย ต่ออายุขัยให้ยาวนานขึ้น ...เมื่อ ละโลกไปแล้ว ก็ยังช่วยปิดอบาย ให้มีชีวิตที่สุขสบาย ในปรโลก
เดินตามทางของบัณฑิต ตอนที่ ( ๒ )
บุคคลให้ทานไม่ได้เพราะเหตุผล ๒ ประการ คือ ความ ตระหนี่ และความประมาท บัณฑิตผู้รู้แจ้ง เมื่อต้องการบุญพึงให้ทาน คนตระหนี่กลัวความอดอยากยากจน เพราะความกลัวจนนั่นแหละ จะเป็นภัยแก่ผู้ไม่ให้ และจะกลับมามีผลต่อคนพาลผู้หลงผิด ฉะนั้น บัณฑิตพึงครอบงำมลทิน กำจัดความตระหนี่แล้วรีบให้ทาน เพราะบุญเป็นที่พึ่งของสัตว์ทั้งหลาย ทั้งในโลกนี้และโลกหน้า
อานุภาพความสุขอยู่ที่ใจ ยืดอายุขัยออกไปได้นาน ถึง 10 ปี
อุจฉังคชาดก ชาดกว่าด้วยหญิงผู้มีใจรักพี่รักน้อง
หญิงสาวชาวนาจำเป็นต้องเลือกขอชีวิต สามี พี่ชาย และลูกชายได้เพียงคนเดียวเท่านั้น นางจึงได้ชี้แจงต่อพระราชาไปว่า “ ขอเดชะพระองค์ผู้เป็นราชาเทพ อันบุตรนั้นย่อมเกิดในครรภ์เหมือนอยู่ในพกในห่อ หม่อมฉันย่อมให้กำเนิดบุตรเองได้ อันสามีเล่าหากต้องการ เมื่อเดินไปตามทาง ย่อมหาได้ไม่ยาก แต่โอกาสจะมีพี่น้องร่วมท้องพ่อแม่เดียวกัน หม่อมฉันมองไม่เห็นทาง เพราะพ่อแม่ได้เสียชีวิตไปแล้ว ”
"เกตส์"บริจาค656ล.ช่วยชาวนา
ชวนต่างชาติให้สนใจ ทาน ศีล ภาวนา
ตัวลูกเป็นชาวต่างชาติ เลื่อมใสในพระพุทธศาสนา อยากให้ญาติมิตรหันมาสนใจเรื่อง การรักษาศีล เจริญภาวนา จะต้องทำอย่างไรคะ ?
เปลี่ยนโลก เปลี่ยนชีวิต ภาวนา “สัมมา อะระหัง” เพิ่มอีกนิด ชีวิตก็เปลี่ยน
การดำเนินชีวิตถ้าจะให้เกิดความสมบูรณ์ทั้งด้านความสุขและความสำเร็จ จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องดูแลจิตใจของตัวเองให้สะอาดบริสุทธิ์อยู่เสมอ โดยการทำจิตให้เป็นสมาธิ สงบนิ่งควบคู่กันไปในชีวิตประจำวันด้วย ซึ่งปัจจุบันถ้าเราได้ศึกษาถึงวิถีแห่งความสงบและความสะอาดแห่งใจอย่างจริงจัง
ชาวลำปางตื่น! ภาพเปรตโผล่กลางหมู่บ้าน
ติวเข้ม"ครูสอนปริยัติธรรม" เสริมเทคนิคการสอนสมัยใหม่