ลูกผู้ชายอย่างเรา ฟ้าไม่กลัว ดินไม่เกรง
ผมอดีตธรรมทายาทรุ่นบูชาธรรม 100 ปีคุณยายอาจารย์ “บัณฑิต ตระกูลคูศรี” ขอรายงานตัวกับหลวงพ่อในฐานะที่ผ่านการอบรมเป็นบัณฑิตทั้งทางโลกและทางธรรม ครับ แม้ผมจะเป็นแมนเต็มตัวไม่เคยกลัวใครประเภท “เทียนปู๋พ่า ตี้ปู๋พ่า” คือฟ้าไม่กลัว ดินไม่เกรง จะกลัวอย่างเดียวคือบวชที่วัดพระธรรมกายนี่แหละ มันกังวลคิดไปสารพัด ทั้งห่วงงาน ทั้งห่วงครอบครัว ทั้งกลัวติดใจเดี๋ยวอยู่ยาวแบบที่เค้าชอบลือกัน
สอบ world-pec บรรพชิต ศูนย์สอบโรงเรียนมัธยมสงฆ์ตอนปลาย ส.ป.ป.ลาว
พระภิกษุสงฆ์ สามเณร จังหวัดส.ป.ป.ลาว กว่า 300 รูป ร่วมสอบ worl-pec บรรพชิต ครั้งที่ 1
ต่างกันไหม คนที่ให้ทานกับไม่ให้ทาน
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า ดูก่อนสุมนา คนทั้งสองนั้นพึงมีความพิเศษแตกต่างกัน คือ ผู้ให้เป็นเทวดาย่อมข่มเทวดาผู้ไม่ให้ด้วยเหตุ 5 ประการ คือ อายุ วรรณะ สุข ยศ และอธิปไตยที่เป็นทิพย์
อานุภาพความสุขอยู่ที่ใจ ยืดอายุขัยออกไปได้นาน ถึง 10 ปี
เรียนรู้บริขาร
บรรพชา เดิมใช้หมายถึง การบวชเป็นนักบวชทั่วไป เช่น เจ้าชายสิทธัตถะเสด็จออกบรรพชา สาวกบรรพชา และเรียกนักบวชเช่นนั้นว่า "บรรพชิต" แต่ในสมัยปัจจุบัน คำนี้ใช้เรียกเฉพาะการบวชเป็นสามเณรเท่านั้น ส่วนการบวชเป็นพระภิกษุเรียกว่า "อุปสมบท"
อานิสงส์ของการให้ที่พักและที่สร้างวัด-ที่นี่มีคำตอบ
การที่ลูกหาสถานที่พักให้พระภิกษุและอุบาสกระหว่างเรียน และหาสถานที่สร้างวัดไทยนางาโน่ ประเทศญี่ปุ่น และบุญที่ได้ใช้บ้านเป็นสถานที่ปฏิบัติธรรม จะมีอานิสงส์อย่างไรบ้าง
ทางลัด ในการเข้าถึงธรรม
การฝึกสมาธิ จนมีสภาพใจที่รวมหยุดนิ่งนั้น อาจเป็นเรื่องยากสำหรับหลายคน เพราะกว่าใจจะรวมเป็นหนึ่งจนได้ปฐมฌาน (เข้าถึงดวงปฐมมรรค) ต้องผ่านขั้นตอนต่างๆ ไปตามลำดับขั้นก่อน ซึ่งเราเรียกขั้นตอนนั้นว่า “องค์แห่งฌาน”
กระต่ายน้อยในดวงจันทร์(ทานปรมัตถบารมี)
เมื่อให้ทานอันเลิศ บุญอันเลิศย่อมเจริญ อายุ วรรณะ ยศ เกียรติ สุข และกำลังอันเลิศก็เจริญ
ต่างภพ, ควาน, แม่พลอย
ผู้หญิงคนหนึ่ง ในชีวิตของเธอพบกับเรื่องราวแปลกๆมากมาย เธอเคยเห็นควายเผือก ที่มีเทพบุตรอยู่ข้างใน เห็นสัตว์คล้ายม้า ซึ่งมีคนบอกเธอว่าคือ “ควาน” มีประสบการณ์เหมือนกับภาพยนตร์ชื่อดัง ทวิภพ และอีกหลากหลาย...เรื่องราวต่างๆที่กล่าวมา เป็นเรื่องเหลือเชื่อแต่จริง หรือเรื่องไม่จริงที่เหลือเชื่อ ที่นี่มีคำตอบ
ส่องธรรม ล้ำภาษิต : ตกทุกข์ก็สุขได้
ทุกฺเข สุขานิ วินฺทติ คนมีปัญญา เมื่อถึงคราวตกทุกข์ ก็ยังหาสุขได้ (๒๗/๒๔๔๔)