ผู้มีสติ
ผู้ใดมีสติอยู่ทุกเวลา ผู้นั้นก็จะได้ฟังธรรมะของพระพุทธเจ้าอยู่ตลอดเวลา เพราะว่าเมื่อตา มองเห็นรูปก็เป็นธรรมะ หูได้ยินเสียงก็เป็นธรรมะ จมูกได้กลิ่นก็เป็นธรรมะ ลิ้นได้รสก็เป็น ธรรมะ ธรรมารมณ์ที่เกิดขึ้นกับใจ นึกขึ้นได้เมื่อใดเป็นธรรมะเมื่อนั้น ฉะนั้น ผู้มีสติจึงได้ฟังธรรมะของพระพุทธเจ้าอยู่ตลอดเวลา ไม่ว่าจะยืน เดิน นั่ง นอน มันมี
เดินตามทางของบัณฑิต ตอนที่ ( ๒ )
บุคคลให้ทานไม่ได้เพราะเหตุผล ๒ ประการ คือ ความ ตระหนี่ และความประมาท บัณฑิตผู้รู้แจ้ง เมื่อต้องการบุญพึงให้ทาน คนตระหนี่กลัวความอดอยากยากจน เพราะความกลัวจนนั่นแหละ จะเป็นภัยแก่ผู้ไม่ให้ และจะกลับมามีผลต่อคนพาลผู้หลงผิด ฉะนั้น บัณฑิตพึงครอบงำมลทิน กำจัดความตระหนี่แล้วรีบให้ทาน เพราะบุญเป็นที่พึ่งของสัตว์ทั้งหลาย ทั้งในโลกนี้และโลกหน้า
ธรรมะผ่าน sms
ผู้ชนะสิบทิศ ตอนที่่ ๓ ( ท่องทั่วโลกธาตุ )
มีคำหนึ่งที่ทุกท่านได้ยินกันบ่อยๆ คือคำว่า อนันตจักรวาล หมาย ถึง จำนวนจักรวาลที่นับไม่ถ้วน ดังข้ออุปมาเพื่อให้ทุกท่านพอจะนึกภาพออก สมมติว่า ถ้าเราเอาแสนโกฏิจักรวาลที่กล่าวมานั้น ทำให้เป็นพื้นที่ว่างๆ
ความหมายของกายในคำว่าธรรมกาย
คำว่า ธรรมกาย เป็นศัพท์สมาส ที่อาจแปลเป็นคำคุณศัพท์ว่า ผู้มีธรรมเป็นกาย หรืออาจแปลเป็นคำนามก็ได้ว่า กายแห่งธรรม กายคือธรรมหรือ กายที่ประกอบด้วยธรรม
มาฆบูชา 2551
ความหมายของ ธรรม ในคำว่า ธรรมกาย
ธรรม ในคำว่าธรรมกาย ที่เป็นพระนามหนึ่งของพระตถาคตนั้นจึงควรหมายถึง โลกุตตรธรรม คือ มรรค ผลนิพพาน ที่เมื่อเข้าถึงแล้ว สามารถเปลี่ยนแปลงปุถุชนให้เป็นอริยบุคคล และเปลี่ยนอริยบุคคลชั้นต้นให้เป็นอริยบุคคลเบื้องสูงขึ้นไปได้นั่นเอง
เส้นทางจอมปราชญ์ (๕)
บุคคลเชื่อธรรมของพระอรหันต์ทั้งหลาย เพื่อบรรลุนิพพาน เป็นผู้ไม่ประมาท มีปัญญาเป็นเครื่องสอดส่อง ฟังอยู่ด้วยดี ย่อมได้ปัญญา บุคคลผู้มีธุระ กระทำสมควร มีความหมั่นย่อมหาทรัพย์ได้ บุคคลย่อมได้ชื่อเสียงด้วยสัจจะ ผู้ให้ย่อมผูกมิตรไว้ได้ ผู้ใดมีศรัทธาอยู่ครองเรือน มีธรรม ๔ ประการนี้ คือ สัจจะ ธรรมะ ธิติ จาคะ ผู้นั้นแล ละจากโลกนี้ไปแล้วย่อมไม่เศร้าโศก
สักครั้ง 'มากประโยชน์' 'อุปสมบท' 'บวช' มีดีมากกว่าบุญ
ในช่วงก่อนเข้าพรรษา ช่วงนี้ในประเทศไทยที่ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ หลาย ๆ ครอบครัวก็จะมีการจัดพิธี "อุปสมบท" หรือ "บวช" บุตรหลานที่เป็นผู้ชาย ที่อายุครบบวชแล้ว เป็น "พระภิกษุ" ซึ่งการบวชหรืออุปสมบทนั้นเป็น "สังฆกรรม" อย่างหนึ่งในพระพุทธศาสนา
ร่วมพิธีอัญเชิญพระประธานวัดพุทธโกเธนเบิร์ก