รีบทำเสียเถิดก่อนจะสายเกินไป
บุคคลใดไม่คำนึงถึงหนาวร้อน อดทนให้เหมือนหญ้า ทำกิจที่ควรทำด้วยเรี่ยวแรงของลูกผู้ชาย บุคคลนั้นย่อมไม่เสื่อมจากความสุข
มงคลที่ ๖ ตั้งตนชอบ - ผู้กลัวตายและไม่กลัวตาย
มื่อเกิดแล้ว ชีวิตต้องพบกับความแก่ ความเจ็บ สุดท้ายต้องบ่ายหน้าไปสู่ความตาย จึงไม่มัวเมาประมาทในร่างกายซึ่งมีปกติเปื่อยเน่า เป็นรังของโรค เต็มไปด้วยของปฏิกูล แล้วหมั่นสร้างคุณงามความดี แ้ล้วจะไปสู่สัมปรายภพอย่างผู้มีชัยชนะ
มงคลที่ ๑๔ ทำงานไม่คั่งค้าง - ผู้ไม่เกียจคร้าน
ในสังคมของชาวโลกนั้น ความสำเร็จของงานเป็นสิ่งที่ทุกๆ คนต่างปรารถนา งานทุกอย่างจะสำเร็จได้เป็นอย่างดี จะต้องอาศัยธรรมะของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าด้วย ซึ่งธรรมบทนั้นได้แก่ อิทธิบาท ๔ คือ มีความรักในงานที่จะทำ เห็นความสำคัญของงานนั้น และใช้ความเพียรพยายาม มุมานะ อีกทั้งมีความเอาใจใส่ พิจารณาตรวจตรางานอยู่เสมอและหมั่นปรับปรุงให้ดีขึ้นเรื่อยๆ เช่นนี้แล้ว ย่อมบรรลุผลที่ตั้งใจอย่างแน่นอน
มงคลที่ ๒๓ มีความถ่อมตน - พระทัพพมัลลบุตร (๓)
จากเรื่องนี้ เราจะเห็นได้ว่า แม้เราจะทำหน้าที่อย่างสมบูรณ์ที่สุด ก็อาจเกิดการเข้าใจผิดกัน ไม่เว้นแม้กระทั่งพระอรหันต์ผู้หมดกิเลสแล้ว ฉะนั้น การเข้าใจผิดจึงเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นได้ง่าย และพร้อมจะเกิดขึ้นเสมอในสังคมโลกปัจจุบัน เรื่องราวที่เกิดขึ้นนี้ พวกเราทุกคนควรนำไปเป็นข้อคิดว่า
มงคลที่ 38 - จิตเกษม - ทำลายข่าย คือ ทิฏฐิมานะ (2)
เมื่อพระอานนทเถระได้รับอนุมัติจากสงฆ์แล้ว จึงออกเดินทางพร้อมพระภิกษุอีก 500รูป มุ่งหน้าไปยังวัดโฆสิตาราม เมืองโกสัมพี ซึ่งเป็นที่พำนักของพระฉันนะ ครั้นพระฉันนะรู้ว่า พระอานนทเถระมาเยี่ยม จึงรีบเข้าไปหา ไหว้พระเถระด้วยความนอบน้อม เพราะรู้ว่าฐานะตำแหน่งทางโลกนั้น พระอานนท์เป็นพระอนุชา เป็นเจ้าฟ้าเจ้าแผ่นดิน ส่วนตนเป็นเพียงข้าทาสคนรับใช้ จึงมีความยำเกรงพระอานนท์เป็นพิเศษ
มงคลที่ ๒๑ ไม่ประมาทในธรรม - ประมาทแล้วต้องตั้งต้นใหม่ (๒)
เมื่อวันเวลาล่วงเลยไปหลายปี จากพราหมณ์หนุ่มก็กลายมาเป็นพราหมณ์แก่ชรา และได้รับทุกขเวทนาแสนสาหัส แต่ยังมีสติอยากจะฟังธรรมิกถาจากพระสารีบุตร จึงสั่งคนรับใช้ให้ไปบอกพระเถระว่า บัดนี้ตนเองป่วยหนัก ได้รับทุกขเวทนาแสนสาหัส ถ้าพระคุณเจ้า สะดวกขอให้มาโปรดด้วยเถิด
พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 61 อัธยาศัยของพระโพธิสัตว์
ด้วยความที่พระโพธิสัตว์เป็นผู้ที่มีหัวใจรักในการสร้างบารมีอย่างไม่มีประมาณ เราจึงสามารถสรุปอัธยาศัยของพระโพธิสัตว์ได้หกประการ ดังนี้
ยอดผู้นำบุญ
ทุกหมู่ชนล้วนมีผู้นำ แต่ในบรรดาผู้นำทั้งหลาย พระสัมมาสัมพุทธเจ้า คือ สุดยอดของผู้นำ
กโปตกชาดก-ชาดกว่าด้วยความเป็นผู้มีใจโลเล
อันพระพุทธวัจนทั้งหมดทั้งสิ้นที่ผ่านความยาวนานของกาลเวลามากกว่า 2500 ปีนั้น มีพระธรรมคำสอนเพียงไม่กี่ข้อที่ผู้คนในโลกจำกันขึ้นใจ บุคคลพึงสำเร็จได้ด้วยความเพียรก็เป็นพระพุทธธรรมข้อหนึ่งที่เราจดจำนำไปปฏิบัติกันอย่างกว้างขวาง การปฏิบัติกิจใดโดยความเพียรก็ย่อมมีข้อขันติอดทน ไม่มีใจโลเลเป็นสิ่งนำสู่ความสำเร็จ
เพียงรักษาจิตเท่านั้น
“พระพุทธศาสนา” เป็นศาสนาของผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน อีกทั้งยังเป็นแหล่งความรู้อันบริสุทธิ์มากมาย